พลังงานซึ่งสัมพันธ์กับแก๊ส ของ กฎของแก๊สอุดมคติ

ตามสมมติฐานจากทฤษฎีจลน์ของแก๊ส เราสามารถสมมุติได้ว่าโมเลกุลของแก๊สอุดมคตินั้นไม่มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล หรือพูดอีกแบบคือไม่มีพลังงานศักย์ พลังงานทั้งหมดที่แก๊สมีจึงเป็นเพียงพลังงานจลน์ของแก๊สแต่ละโมเลกุล

E = 3 2 n R T {\displaystyle E={\frac {3}{2}}nRT}

คือสูตรสำหรับพลังงานจลน์ของแก็สอะตอมเดี่ยวจำนวน n โมลซึ่งมีองศาเสรี 3 องศา; x, y, z

พลังงานของแก๊สนิพจน์ทางคณิตศาสตร์
พลังงานซึ่งสัมพันธ์กับแก๊สอะตอมเดี่ยวจำนวนหนึ่งโมล E = 3 2 R T {\displaystyle E={\frac {3}{2}}RT}
พลังงานซึ่งสัมพันธ์กับแก๊สอะตอมเดี่ยวมวลหนึ่งกรัม E = 3 2 r T {\displaystyle E={\frac {3}{2}}rT}
พลังงานซึ่งสัมพันธ์กับแก๊สอะตอมเดี่ยวจำนวนหนึ่งโมเลกุล (หรือหนึ่งอะตอม) E = 3 2 k B T {\displaystyle E={\frac {3}{2}}k_{B}T}

แหล่งที่มา

WikiPedia: กฎของแก๊สอุดมคติ http://www.gearseds.com/curriculum/learn/lesson.ph... http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k15184h/f327.... http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k15185v/f371.... http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k4336791/f157... http://www.grc.nasa.gov/WWW/K-12/airplane/eqstat.h... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16576959 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1084398 //arxiv.org/abs/1106.1273 //doi.org/10.1002%2Fandp.18561751008 //doi.org/10.1002%2Fandp.18571760302