การวินิจฉัย ของ กลุ่มอาการขาดยาเบ็นโซไดอาเซพีน

ในกรณีรุนแรง ปฏิกิริยาขาดยาหรืออาการขาดยาแบบยืดเยื้ออาจเหมือนอาการหรือทำให้อาการทางจิตเวชหรือทางสุขภาพอื่น ๆ แย่ลง เช่น อาการฟุ้งพล่าน โรคจิตเภท โรคซึมเศร้าผสมกับความหงุดหงิด (agitated depression) โรคตื่นตระหนก โรควิตกกังวลไปทั่ว (generalized anxiety disorder) และการชักแบบซับซ้อนที่ซีกสมองข้างหนึ่ง (complex partial seizures) และถ้ากินในขนาดสูง โรคลมชัก[24]การไม่เข้าใจว่าเป็นอาการเนื่องกับการหยุดยาอาจทำให้เข้าใจผิดว่าควรใช้เบ็นโซไดอาเซพีน ซึ่งก็จะทำให้หยุดยาไม่ได้เพราะกลับไปกินยาใหม่ โดยมักจะในขนาดมากกว่าเมื่อเกิดอาการขาดยา โรคที่เคยเป็นอยู่หรือเหตุอื่น ๆ ก็มักจะไม่ดีขึ้น แต่อาการเกี่ยวกับการขาดยาแบบยืดเยื้อจะค่อย ๆ ดีขึ้นในเดือนต่อ ๆ มา[24]อาการอาจไม่มีเหตุทางจิตและอาจรุนแรงขึ้น ๆ ลง ๆ ดีบ้างแย่บ้างจนกระทั่งหาย[92][93]

ใกล้เคียง

กลุ่มโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย กลุ่มเซ็นทรัล กลุ่มภาษาจีน กลุ่มอาการขาดยาเบ็นโซไดอาเซพีน กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ กลุ่ม 20 กลุ่มภาษาเซมิติก กลุ่มอาการมือแปลกปลอม กลุ่มเดอะมอลล์ กลุ่มอาการมาร์แฟน

แหล่งที่มา

WikiPedia: กลุ่มอาการขาดยาเบ็นโซไดอาเซพีน http://thebrain.mcgill.ca/flash/a/a_01/a_01_m/a_01... http://us.gsk.com/products/assets/us_wellbutrinXL.... http://www.rocheusa.com/products/romazicon/pi.pdf http://archive.wikiwix.com/cache/20110915105636/ht... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10220122 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/103443 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10418790 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10512781 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10591888 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/10623971