การยึดครองรัฐบอลติก
การยึดครองรัฐบอลติก

การยึดครองรัฐบอลติก

การยึดครองรัฐบอลติก (อังกฤษ: occupation of the Baltic states) เป็นการยึดครองด้วยทหารต่อรัฐบอลติกทั้งสามคือลิทัวเนีย ลัตเวีย และเอสโตเนีย โดยสหภาพโซเวียตตามสนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1940 [1][2] และจัตตั้งสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตโดยผิดกฎหมายแต่วันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1941 นาซีเยอรมนีรุกรานสหภาพโซเวียตและไม่กี่สัปดาห์ก็ยึดครองดินแดนบอลติกและจัตตั้ง ไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิไรซ์ที่สามแต่ว่าการรุกบอลติกในปี ค.ศ. 1944 กองทัพเยอรมันในคูร์แลนด์ (Courland) ยอมจำนนอย่างเป็นทางการในเดือนพฤษภาคมปี ค.ศ. 1945[3] ทำให้โซเวียตกลับมาอีกครั่งและได้ผนวกเช้ากับและปกครองจนถึงปี ค.ศ. 1991 ที่สามรัฐกลับมาเป็นเอกราชอีกครังสหรัฐอเมริกา[4][5]และศาลของกฎหมาย[6], รัฐสภายุโรป[7][8][9],ศาลสิทธิมนุษยชนยุโรป[10] และคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ[11] ทั้งหมดระบุว่ารัฐบอลติกยังคงเอกราชอยู่ การถูกรุกรานตั้งแต่สนธิสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพต่อด้วยการนาซีเยอรมนีรุกรานสหภาพโซเวียต ค.ศ. 1941 และการกลับมายึดครองอีกครั้งของโซเวียต ค.ศ. 1944 - 1991[12][13][14][15][16][17][18][19] นั้นอยู่ภายใต้การยึดครองที่ผิดกฎหมายตลอดระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1940 - 1991[20][21][22]อย่างไรก็ตามสหภาพโซเวียตไม่เคยได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการการแสดงตนในบอลติกเป็นยึดครองหรือว่ามันผนวกรัฐเหล่านี้[23] และคิดว่ารัฐบอลติกสมัครใจเข้าร่วมสหภาพโซเวียตรัฐบาลรัสเซียและเจ้าหน้าที่ของรัฐยืนยันว่าการรวมตัวกันของประเทศแถบบอลติกเป็นไปตามกฎหมายต่างประเทศ [24][25]และได้รับการยอมรับโดยข้อตกลงที่ทำในการประชุมยัลตาและพ็อทซ์ดัมและโดยสนธิสัญญาเฮลซิงกิ [26][27] ในขณะที่ความมุ่งมั่นเพียงสนธิสัญญาเขตแดนที่มีอยู่จะไม่ถูกละเมิด อย่างไรก็ตามรัสเซียตกลงที่จะมีความต้องการของยุโรปจะ "ช่วยคนที่ถูกเนรเทศออกจากการยึดครองรัฐบอลติก" เมื่อเข้าร่วมสภายุโรป[28][29][30] นอกจากนี้เมื่อสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซียลงนามในสนธิสัญญาแยกต่างหากกับลิทัวเนียในปี ค.ศ. 1991 ก็ยอมรับว่าการผนวกลิทัวเนียในปี ค.ศ. 1940 เป็นการละเมิดอธิปไตยของลิทัวเนีย[31][32]รัสเซียต้องถอนกำลังออกจากรัฐบอลติกทั่งสามโดยเริ่มจากลิทัวเนียในปี ค.ศ. 1993 โดยได้รับคำสังจากมอสโคในปี ค.ศ. 1994 ทหารออกจากรัฐบอลติกและในปี ค.ศ. 1998 ได้มีการรื้อถอนสถานีเรดาห์ Skrunda-1 ในลัตเวียและทหารรัสเซียคนสุดท้ายออกจากรัฐบอลติกในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1999[33][34]

ใกล้เคียง

การยึดกรุงไซ่ง่อน การยึดครองญี่ปุ่น การยึดครองเซอร์เบียของออสเตรีย-ฮังการี การยึดครองเยอรมนีของสยาม การยึดครองกลุ่มรัฐบอลติก การยึดกรุงคาบูล (พ.ศ. 2564) การยึดครองโรมาเนียของโซเวียต การยึดครองพม่าของญี่ปุ่น การยึดครองกัมพูชาของญี่ปุ่น การยึดครองเมืองซารันจ์

แหล่งที่มา

WikiPedia: การยึดครองรัฐบอลติก http://www.balticsworldwide.com/the-weekly-crier-1... http://www.themoscowtimes.com/news/article/russia-... http://www.ecmi.de/uploads/tx_lfpubdb/working_pape... http://merln.ndu.edu/archivepdf/EUR/State/86539.pd... http://www.europarl.europa.eu/sides/getDoc.do?pubR... http://www.europarl.europa.eu/sides/getDoc.do?type... http://assembly.coe.int/Documents/AdoptedText/TA96... http://assembly.coe.int/Documents/AdoptedText/ta05... http://cmiskp.echr.coe.int/tkp197/view.asp?action=... http://www.lfpr.lt/uploads/File/1998-1/Treaty.pdf