การแทรกแซงสามฝ่าย

การฟื้นฟูพระราชอำนาจ
สงครามโบชิน
กบฏซัตสึมะ
สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง
การแทรกแซงสามฝ่าย
กบฎนักมวย
พันธมิตรอังกฤษ-ญี่ปุ่น
สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น
การผนวกดินแดนเกาหลีสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
การแทรกแซงไซบีเรีย
กฎหมายการเลือกตั้งทั่วไป
สนธิสัญญาห้ามหาอำนาจ
วิกฤตการณ์การเงินโชวะ
กระบวนการสันติภาพแมนจูกัว
กติกาสัญญาต่อต้านคอมมิวนิสต์สากล
สงครามจีน–ญี่ปุ่นครั้งที่สอง
กติกาสัญญาไตรภาคี
กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น
สงครามแปซิฟิก
การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโรชิมะและนางาซากิ
สงครามโซเวียต-ญี่ปุ่น
การยอมจำนนของญี่ปุ่น
การยึดครองญี่ปุ่นโดยฝ่ายสัมพันธมิตรการแทรกแซงสามฝ่าย (อังกฤษ: Triple Intervention, ญี่ปุ่น: 三国干渉) คือการแทรงแทรงทางการทูตโดยจักรวรรดิรัสเซีย, จักรวรรดิเยอรมัน และประเทศฝรั่งเศส เมื่อ 23 เมษายน ค.ศ.1895 เกี่ยวกับข้อสัญญาในสนธิสัญญาชิโมโนเซกิ ที่ญี่ปุ่นได้ลงนามกับราชวงศ์ชิงของจีนเพื่อยุติสงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่หนึ่ง สนธิสัญญาดังกล่าวทำให้ญี่ปุ่นได้เข้าครอบครองคาบสมุทรเหลียวตงตลอดจนเมืองท่าสำคัญอย่างพอร์ทอาเทอร์ รัสเซียซึ่งมีเขตอิทธิพลอยู่ในจีนอยู่แล้วเกิดความกังวลใจถึงการรุกคืบของญี่ปุ่น รัสเซียได้ชักชวนเยอรมันและฝรั่งเศสร่วมกดดันให้ญี่ปุ่นคืนดินแดนดังกล่าวแก่จีนแลกกับการที่ญี่ปุ่นจะได้รับค่าปฏิกรรมสงครามจากจีนมากขึ้นอีก 30 ล้านตำลึง รวมเป็น 230 ล้านตำลึง (จากเดิม 200 ล้านตำลึง)[1] ญี่ปุ่นได้มีปฏิกิริยาตอบโต้การแทรกแซงครั้งนี้และกลายเป็นหนึ่งในสาเหตุที่ทำให้เกิดสงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่นในปี 1904[1]

ใกล้เคียง

การแท้ง การแทรกแซงของสหรัฐในชิลี การแทรกแซงการเลือกตั้งสหรัฐของรัสเซีย พ.ศ. 2559 การแทรกแซงทางทหารในลิเบีย พ.ศ. 2554 การแทรกแซงทางเศรษฐกิจ การแทนความรู้ การแทรกสอด การแทนจำนวนมีเครื่องหมาย การแทรกแซงสงครามกลางเมืองรัสเซียโดยฝ่ายสัมพันธมิตร การแทรกสัญญาณข้าม