เชิงอรรถและอ้างอิง ของ ตัวกระตุ้น

  1. 1 2 "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ stimulus ว่า "ตัวกระตุ้น" หรือ "สิ่งเร้า"
  2. 1 2 ภาวะธำรงดุล (Homeostasis) เป็นคุณสมบัติของระบบหนึ่ง ๆ ที่ควบคุมสิ่งแวดล้อมภายในของระบบ และมักจะดำรงสภาวะที่สม่ำเสมอและค่อนข้างจะคงที่ขององค์ประกอบต่าง ๆ เช่นอุณหภูมิและค่าความเป็นกรด
  3. 1 2 3 4 5 6 ในประสาทวิทยาและจิตฟิสิกส์ ระดับขีดเริ่มเปลี่ยนสัมบูรณ์ (absolute threshold) เป็นระดับที่ต่ำสุดของตัวกระตุ้นที่จะตรวจพบได้ แต่ว่า ในระดับนี้ สัตว์ทดลองบางครั้งก็ตรวจพบตัวกระตุ้น บางครั้งก็ไม่พบ ดังนั้น การจำกัดความอีกอย่างหนึ่งก็คือ ระดับของตัวกระตุ้นที่ต่ำที่สุดที่สามารถตรวจพบได้ 50% ในโอกาสทั้งหมดที่ตรวจ
  4. 1 2 Craig, Bud (2003). "A new view of pain as a homeostatic emotion". Trends in Neuroscience. 26 (6): 303–307. doi:10.1016/S0166-2236(03)00123-1. PMID 12798599. สืบค้นเมื่อ 15 September 2012. Unknown parameter |month= ignored (help)
  5. 1 2 ตัวรับการยืดออก (stretch receptors) เป็นตัวรับความรู้สึกเชิงกลที่ตอบสนองต่อการขยายออกของอวัยวะและกล้ามเนื้อหลายอย่าง แล้วส่งสัญญาณประสาทไปยัง medulla ในก้านสมอง ผ่านเส้นใยประสาทนำเข้า
  6. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 Nicholls, John (2001). From Neuron to Brain (Fourth ed.). Sunderland, MA: Sinauer. ISBN 0-87893-439-1. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  7. Purves, Dale (2012). Neuroscience (Fifth ed.). Sunderland, MA: Sinauer. ISBN 978-0-87893-695-3. Check |isbn= value: invalid character (help).
  8. Stucky, Cheryl (2001). "Mechanisms of pain". Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America (21 ed.). 98 (21): 11845–11846. doi:10.1073 Check |doi= value (help). PMC 59728. PMID 11562504. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help); Unknown parameter |month= ignored (help); Unknown parameter |unused_data= ignored (help)
  9. 1 2 3 4 5 " Absolute Threshold." Gale Encyclopedia of Psychology. 2001. Retrieved July 14, 2010 from Encyclopedia.com
  10. เซลล์รับแสง (photoreceptor cell) เป็นเซลล์ประสาทมีกิจเฉพาะชนิดหนึ่งอยู่ในเรตินา มีสมรรถภาพในการถ่ายโอนแสง (phototransduction) ความสำคัญทางชีวภาพของเซลล์รับแสงก็คือ มันเปลี่ยนแสงเป็นสัญญาณที่สามารถเป็นตัวกระตุ้นของระบบชีวภาพ
  11. เนื้อเยื่อยึดต่อใต้เยื่อบุผิว (lamina propria) เป็นส่วนประกอบของเยื่อบุ (epithelium) ชื้น ๆ ที่รู้จักกันว่า เยื่อเมือก ซึ่งบุช่องต่าง ๆ ในร่างกาย เช่นทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร และทางเดินปัสสาวะ เนื้อเยื่อยึดต่อใต้เยื่อบุผิวเป็นชั้นบาง ๆ ของเนื้อเยื่อใต้เยื่อบุ และพร้อมกับเยื่อบุรวมกันเรียกว่า เยื่อเมือก
  12. 1 2 3 หน่วยรับความรู้สึกคู่กับจีโปรตีน (G protein-coupled receptor ตัวย่อ GPCRs) เป็นกลุ่มหน่วยรับความรู้สึกโปรตีนกลุ่มใหญ่ ที่ตรวจจับโมเลกุลข้างนอกเซลล์ และทำให้เกิดการถ่ายโอนสัญญาณ ซึ่งก่อให้เกิดปฏิกิริยาของเซลล์โดยที่สุด
  13. adenylate cyclase เป็นเอนไซม์มีบทบาทสำคัญเกี่ยวกับระบบการควบคุมในเซลล์
  14. ประตูโซเดียม (sodium channel) เป็นโปรตีนเยื่อหุ้มอันเป็นส่วนของเซลล์ที่มีหน้าที่เป็นประตูไอออน (ion channels) นำส่งไอออนของโซเดียม (Na+) ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
  15. 1 2 3 4 5 Martini, Frederic (2010). Anatomy & Physiology (Second ed.). San Frascisco, CA: Benjamin Cummings. ISBN 987-0-321-59713-7 Check |isbn= value: invalid prefix (help). Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  16. ไมโครวิลไล (microvilli) เป็นส่วนที่ยื่นออกมาจากเยื่อหุ้มเซลล์มีขนาดเล็กมาก เพื่อช่วยเพิ่มพื้นที่ผิวของเซลล์
  17. 1 2 3 ประตูไอออน (ion channel) เป็นโปรตีนเยื่อหุ้มเซลล์ที่เป็นประตูไอออน มีหน้าที่ต่าง ๆเป็นต้นว่า ช่วยควบคุมศักยะงานและสัญญาณไฟฟ้าอื่น ๆ โดยควบคุมการนำไอออนผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
  18. ในระบบประสาท เซลล์ประสาทนำเข้า (afferent neuron) นำสัญญาณไปจากตัวรับความรู้สึก หรืออวัยวะรับความรู้สึก เข้าไปยังระบบประสาทกลาง
  19. 1 2 เส้นประสาท Vestibulocochlear เป็นเส้นประสาทที่ 8 ใน 12 เส้นประสาทกะโหลกที่ออกมาจากกะโหลกโดยไม่ได้ผ่านไขสันหลัง มีหน้าที่ส่งข้อมูลเสียงและข้อมูลการทรงตัวของกาย จากหูส่วนในไปยังสมอง
  20. kinocilia เป็นซีเลียชนิดพิเศษ อยู่ที่ยอดของเซลล์ขนที่อยู่ในเยื่อของหูชั้นในของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  21. stereocilia เป็นส่วนดัดแปลงบนยอดของเซลล์ ต่างจากซีเลีย และ ไมโควิลไล แต่มีส่วนเหมือนกับไมโควิลไลมากกว่าซีเลีย คือเป็นส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ที่ยื่นออกมา
  22. vestibular nerve ganglion เป็นปมประสาทของเส้นประสาทรับรู้การทรงตัวของกาย (vestibular) ซึ่งประกอบด้วยเซลล์ประสาทแบบสองขั้ว (Bipolar neuron) ซึ่งเป็นตัวส่งสัญญาณไปยังระบบประสาทกลาง โดยรับสัญญาณจากไซแนปส์ที่เชื่อมต่อกับอวัยวะรับรู้การทรงกาย (Vestibular organ)
  23. การแสดงออกของยีน (gene expression) คือขบวนการที่ข้อมูลต่าง ๆ ของยีน มีการนำมาใช้เพื่อสังเคราะห์โปรตีนและกรดไรโบนิวคลีอิก (RNA) อันเป็นผลิตภัณฑ์ของยีน
  24. Ashburner, M; Ball, CA; Blake, JA; Botstein, D; Butler, H; Cherry, JM; Davis, AP; Dolinski, K; Dwight, SS (2000). "Gene ontology: tool for the unification of biology". Nat Genet. 25 (1): 25–29. doi:10.1038/75556. PMC 3037419. PMID 10802651. สืบค้นเมื่อ 4 November 2012. Unknown parameter |month= ignored (help)
  25. ในชีววิทยา เมทริกซ์นอกเซลล์ (extracellular matrix) เป็นส่วนภายนอกเซลล์ของเนื้อเยื่อในสัตว์ โดยปกติทำหน้าที่เป็นโครงสร้างช่วยค้ำจุนเซลล์อื่น ๆ และทำหน้าที่สำคัญอื่น ๆ เมทริกซ์นอกเซลล์เป็นคุณลักษณะพิเศษของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue) ในสัตว์
  26. phospholipid เป็นตระกูลของลิพิด ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของเยื่อหุ้มเซลล์ทุกประเภท phospholipid ส่วนมากมีไดกรีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุล ที่อยู่ในตระกูลของฟอสเฟต และโมเลกุลอินทรีย์ที่ไม่สลับซับซ้อนอีกโมเลกุลหนึ่งเช่นโคลีน (choline)
  27. ในชีววิยา เมทริกซ์ของนิวเคลียส (Nuclear matrix) เป็นเครือข่ายของเส้นใยที่กระจายไปทั่วนิวเคลียสของเซลล์ คล้ายคลึงกับระบบเส้นใยของเซลล์
  28. เยื่อลิพิดมีชั้นคู่ (liquid bilayer) เป็นเยื่อมีขั้ว (Polar membrane) ทำด้วยโมเลกุลลิพิดมีสองชั้น
  29. Jamney, Paul A.; McCulloch, CA (2007). "Cell Mechanics: Integrating Cell Responses to Mechanical Stimuli". Annu. Rev. Biomed. Eng. 9: 1–34. doi:10.1146 Check |doi= value (help). PMID 17461730. Unknown parameter |unused_data= ignored (help); Unknown parameter |month= ignored (help)
  30. Ingber, D. E. (1997). "Tensegrity: The architectural basis of mechanotransduction". Annu. Rev. Physiol. 59: 575–599. doi:10.1146/annurev.physiol.59.1.575. PMID 9074778.
  31. Nakamura, T. (1987). "A cyclic nucleotide-gated conductance in olfactory receptor cilia". Nature. 532 (6103): 442–444. doi:10.1038/325442a0. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  32. 1 2 ระบบหน่วยส่งสัญญาณที่สอง (Second messenger system) เป็นโมเลกุลหลายโมเลกุลที่ส่งสัญญาณจากหน่วยรับความรู้สึกที่อยู่นอกเยื่อหุ้มเซลล์ ไปยังโมเลกุลปลายทางภายในเซลล์ ซึ่งอยู่ในไซโทพลาซึมหรือนิวเคลียส ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงบางอย่างในเซลล์ เป็นกระบวนการขยายกำลังของสัญญาณของตัวกระตุ้น
  33. ดูรายละเอียดในหัวข้อ "กลิ่น" ข้างบน
  34. Eccles, J (1966). "The Ionic Mechanisms of Excitatory and Inhibitory Synaptic Action". Annals of the New York Academy of Sciences. 137 (2): 473–494. doi:10.1111/j. PMID 5338549. สืบค้นเมื่อ 25 October 2012. Unknown parameter |month= ignored (help)
  35. 1 2 3 ศักย์หลายค่า (graded potential) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเพราะสภาวะความซึมผ่านได้ของเยื่อหุ้มเซลล์เปลี่ยนไปเพราะมีการยึดหน่วยรับความรู้สึก โดยทั่ว ๆ ไปเป็นเหตุการณ์ที่ลดระดับศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งเกิดจากไอออนบวกที่ไหลเข้ามาภายในเซลล์ การที่เรียกว่า ศักย์หลายค่า เป็นเพราะว่า ระดับความเปลี่ยนแปลงของศักย์นั้นขึ้นอยู่กับระดับการไหลเข้าของไอออนบวก และช่วงเวลาของการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับเวลาที่มีการไหลเข้าของไอออนบวก ความที่ค่าของศักย์และช่วงเวลาที่ศักย์เปลี่ยน สามารถมีค่าต่าง ๆ กัน คือไม่แน่นอน ต่างจากศักยะงาน ซึ่งมีค่าการเปลี่ยนแปลงของศักย์ที่แน่นอนในช่วงเวลาที่แน่นอน
  36. แอกซอนฮิลล็อก (axon hillock) เป็นส่วนของตัวเซลล์ประสาทที่มีกิจจำเพาะ เป็นส่วนที่เชื่อมต่อตัวเซลล์กับแอกซอน ด้วยเหตุนี้ แอกซอนฮิลล็อกเป็นจุดสุดท้ายในตัวเซลล์ (Perikaryon) เป็นจุดที่ศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ที่แพร่ขยายมาทางไซแนปส์จากเดนไดรต์ รวมยอดเข้าด้วยกัน ก่อนที่จะมีการส่งศักย์ต่อไปทางแอกซอน
  37. ศักย์ขีดเริ่มเปลี่ยน (Threshold potential) เป็นระดับที่ศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ต้องเปลี่ยนไปถึงก่อนที่เซลล์ประสาทจะสร้างศักยะงาน มักมีค่าในระหว่าง -40 และ -55 มิลลิโวลต์ เปรียบเทียบกับศักย์ระดับพัก (resting potential) ที่ -70 มิลลิโวลต์
  38. Pitman, Robert (1984). biologists.org/content/112/1/199.long "The versatile synapse" Check |url= value (help). The Journal of Experimental Biology. 112: 199–224. PMID 6150966. สืบค้นเมื่อ 25 October 2012. Unknown parameter |month= ignored (help)
  39. English, Arthur (1982). "The Motor Unit: Anatomy and Physiology". Journal of the American Physical Therapy Association. 62 (12): 1763–1772. PMID 6216490. สืบค้นเมื่อ 25 October 2012. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help); Unknown parameter |month= ignored (help)
  40. รอยต่อประสาทและกล้ามเนื้อ (neuromuscular junction) เชื่อมระบบประสาทกับระบบกล้ามเนื้อผ่านไซแนปส์ของใยประสาทนำออกและเซลล์กล้ามเนื้อ (หรือที่รู้จักกันว่า ใยกล้ามเนื้อ) กล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า รอยต่อประสาทและกล้ามเนื้อ ก็คือช่องไซแนปส์ระหว่างปลายแอกซอนของเซลล์ประสาทสั่งการ (motor neuron) กับเดนไดรต์ของเซลล์กล้ามเนื้อ เป็นจุดที่อยู่ใกล้ ๆ ตัวเซลล์กล้ามเนื้อ แต่เป็นจุดที่อาจจะอยู่ห่างไกลจากตัวเซลล์ประสาทสั่งการซึ่งอยู่ในระบบประสาทกลาง
  41. วาโซเพรสซิน (vasopressin) เป็นฮอร์โมนที่พบในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมโดยมาก หน้าที่หลักก็คือดำรงรักษาน้ำในร่างกายและทำเส้นเลือดให้ตีบ
  42. Baylis, P (1). "Osmoregulation and control of vasopressin secretion in healthyhumans". American Journal of Physiology. 253 (5): R671–R678. PMID 3318505. สืบค้นเมื่อ 15 September 2012. Unknown parameter |month= ignored (help); Check date values in: |date=, |year= / |date= mismatch (help)
  43. Goligorsky, Michael (2001). "The concept of cellular "fight-or-flight" reaction to stress". American Journal of Physiology. 280 (4): F551–F561. PMID 11249846. สืบค้นเมื่อ 25 October 2012. Unknown parameter |month= ignored (help)
  44. Fluck, D; Schulkin, J (1972). "Catecholamines". British Heart Journal. 34 (9): 869–873. doi:10.1136/hrt.34.9.869. PMC 487013. PMID 18045735. Unknown parameter |month= ignored (help)
  45. Power, Michael (2008). "Anticipatory physiological regulation in feeding biology". Apetite. 50 (2–3): 2–3. doi:10.1016/j.appet.2007.10.006. PMC 2297467. PMID 18045735. Unknown parameter |month= ignored (help); Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  46. Giduck, Sharon (1987). "Cephalic reflexes: their role in digestion and possible roles in absorption and metabolism". The Journal of Nutrition. 117 (7): 1191–1196. PMID 3302135. สืบค้นเมื่อ 25 October 2012. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help); Unknown parameter |month= ignored (help)
  47. เทคนิค Patch clamp เป็นวิธีที่ใช้ในแล็บในสรีรวิทยาไฟฟ้าที่ทำให้สามารถศึกษาประตูไอออนประตูเดียวหรือหลาย ๆ ประตูในเซลล์ เทคนิคนี้สามารถใช้ได้ในเซลล์หลายประเภท แต่มีผลเป็นพิเศษในการศึกษาเซลล์เร้าได้ เช่นเซลล์ประสาทเป็นต้น
  48. Barac, Sorin; Dellon, A.; Hoinoiu, Teodora; Barac, Beatrice; Barac, Sorin; Jiga, Lucian (2012). "Hindpaw Withdrawal from a Painful Thermal Stimulus after Sciatic Nerve Compression and Decompression in the Diabetic Rat". Thieme Journal of Reconstructive Microsurgery. 29 (1): 63–6. doi:10.1055/s-0032-1328917. PMID 23161393. Unknown parameter |month= ignored (help)

แหล่งที่มา

WikiPedia: ตัวกระตุ้น http://www.encyclopedia.com/doc/1G2-3406000012.htm... http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S... http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/j.1749-... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2297467 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3037419 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC487013 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC59728 http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10802651 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/10802651 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11249846