เชิงอรรถ ของ ภาวะคอเลสเตอรอลสูงในเลือด

  1. สูตรของคียส์ (อังกฤษ: Keys equation) สามารถใช้พยากรณ์ผลของกรดไขมันอิ่มตัวและไม่อิ่มตัวในอาหารต่อระดับคอเลสเตอรอลในเลือด นพ. ชาวอเมริกัน แอนเซล คียส์ ได้ค้นพบว่า ไขมันอิ่มตัวในอาหารจะเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลรวมและคอเลสเตอรอล LDL ในเลือด โดยเพิ่มเป็นสองเท่าของที่การกินไขมันไม่อิ่มตัวจะลดคอเลสเตอรอลเหล่านั้น[57]การเปลี่ยนแปลงของคอเลสเตอรอลในเลือดมีสูตรเป็น[58](mmol/L) = 0.031(2Dsf − Dpuf) + 1.5√DchDsf เป็นความเปลี่ยนแปลงเป็นเปอร์เซ็นต์ของพลังงานอาหารที่ได้จากไขมันอิ่มตัวส่วสน Dpuf เป็นความเปลี่ยนแปลงเป็นเปอร์เซ็นต์ของพลังงานอาหารที่ได้จากไขมันไม่อิ่มตัวและ Dch เป็นความเปลี่ยนแปลงของคอเลสเตอรอลที่ได้จากอาหาร
  2. ศาสตราจารย์เฮ็กสเต็ดแห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้ทำงานวิจัยในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างอาหารกับระดับคอเลสเตอรอลในเลือด สูตรที่เขาตั้งขึ้นแสดงว่า คอเลสเตอรอลและไขมันอิ่มตัวจากอาหารเช่นไข่และเนื้อ จะเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลที่ไม่ดีในเลือด แต่ไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดียว (monounsaturated fat) แทบไม่มีผล ส่วนไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่จากอาหารเช่นถั่วและเมล็ดพืช จะลดระดับคอเลสเตอรอล เป็นงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในปี 1965[60]เมื่อรวมกับงานศึกษาที่แอนเซล คียส์ ทำต่างหาก ๆ จึงเกิดคำแนะนำให้ลดการทานไขมันอิ่มตัวสูตรของเฮ็กสเต็ด (อังกฤษ: Hegsted equation) สามารถใช้พยากรณ์ผลของอาหารต่อคอเลสเตอรอลรวมในเลือด คือ Δ Cholesterol ( mg/dl ) = 2.16 Δ S − 1.65 Δ P + 0.068 Δ C mg/day {\displaystyle \Delta {\text{Cholesterol}}\;({\text{mg/dl}})=2.16\Delta {\text{S}}-1.65\Delta {\text{P}}+0.068\Delta {\text{C}}_{\text{mg/day}}} เมื่อ S {\displaystyle {\text{S}}} = กรดไขมันอิ่มตัว (% ของแคลอรีทั้งหมด), P {\displaystyle {\text{P}}} = กดไขมันไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ (% ของแคลอรีทั้งหมด) และ C {\displaystyle {\text{C}}} = คอเลสเตอรอลจากอาหาร[61]

ใกล้เคียง

ภาวะคู่หรือคี่ของ 0 ภาวะคอเลสเตอรอลสูงในเลือด ภาวะความเป็นชายเป็นพิษ ภาวะคู่หรือคี่ (คณิตศาสตร์) ภาวะคู่กันปวงกาเร ภาวะคอนเวกซ์ (เศรษฐศาสตร์) ภาวะความดันเลือดสูง ภาวะคันต่างที่ ภาวะคาร์บอนมอนอกไซด์พิษ ภาวะคิดว่าตนเขื่อง

แหล่งที่มา

WikiPedia: ภาวะคอเลสเตอรอลสูงในเลือด https://doi.org/10.1016%2FS0140-6736(03)14234-1 https://doi.org/10.1021%2Fed082p1791 https://doi.org/10.1152%2Fadvan.00048.2003 https://doi.org/10.1161%2F01.CIR.0000131511.50734.... https://doi.org/10.1038%2Fncpcardio0500 https://doi.org/10.1136%2Fbmj.h3978 https://doi.org/10.1016%2Fj.jacl.2011.04.001 https://doi.org/10.1136%2Fbmj.a993 https://doi.org/10.1161%2FATVBAHA.108.179739 https://doi.org/10.1161%2F01.CIR.97.18.1876