รถไฟฟ้าชานเมือง_สายสีแดง

โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) (อังกฤษ: The S.R.T. Red Line Mass Transit System Project) เป็นโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (รฟท.) ทำหน้าที่ในการบริการขนส่งผู้โดยสารที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชานเมืองเข้าสู่กรุงเทพมหานคร ด้วยระบบรางที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพื่อป้อนผู้โดยสารเข้าสู่โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนของ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) หรือ กรุงเทพมหานคร (กทม.) โดยมีสถานีหลักคือสถานีกลางบางซื่อ รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง ช่วงบางซื่อ–รังสิต และช่วงบางซื่อ–ตลิ่งชัน รวมสถานีกลางบางซื่อ ใช้งบประมาณในการก่อสร้างรวมทั้งหมด 99,840.4 ล้านบาท[1] เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2552[2] มีกำหนดเปิดให้บริการในช่วงปลาย พ.ศ. 2564 หรืออย่างช้าต้น พ.ศ. 2565

รถไฟฟ้าชานเมือง_สายสีแดง

ประเภท รถไฟชานเมือง
เจ้าของ การรถไฟแห่งประเทศไทย
จำนวนสถานี 58
การจ่ายไฟฟ้า 25 kV AC จ่ายไฟเหนือหัว
จำนวนสาย 2
ที่ตั้ง กรุงเทพมหานคร, นนทบุรี, ปทุมธานี
รางกว้าง 1,000 mm (3 ft 3 3⁄8 in) มีเตอร์เกจ
ระยะทาง 37.6 กิโลเมตร
(ระยะที่ 1)
139.3 กิโลเมตร
(เมื่อเปิดใช้งานทั้งหมด)
ผังเส้นทาง
ผังเส้นทาง

กม.
รฟท. สายเหนือและสายตะวันออกเฉียงเหนือ
ส่วนต่อขยายด้านเหนือ
32.6
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
29.9
เชียงราก
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
26.2
คลองหนึ่ง
22.6
รังสิต
19.9
หลักหก
13.8
ดอนเมือง
11.8
การเคหะ
( สายสีชมพู )
9.9
หลักสี่
7.1
ทุ่งสองห้อง
5.6
บางเขน
4.1
วัดเสมียนนารี
2.6
จตุจักร
ไป ตลิ่งชัน
รฟท. สายใต้
ชุมทางบางซื่อ
0.0
กลางบางซื่อ
สายสีน้ำเงิน
ประดิพัทธิ์
2.7
สามเสน
3.7
ราชวิถี
โรงพยาบาลรามาธิบดี
ไป สุวรรณภูมิ
ไป หัวหมาก
ยมราช
รฟท. สายตะวันออก
5.4
ยมราช
อุรุพงษ์
6.5
ยศเส
7.5
หัวลำโพง
กรุงเทพ
สายสีน้ำเงิน
ส่วนต่อขยายด้านใต้
คลองสาน
สายสีลม
สายสีม่วง
วงเวียนใหญ่
รฟท. ทางรถไฟสายแม่กลอง
ตลาดพลู
สายสีลม
วุฒากาศ
วุฒากาศ
คลองต้นไทร
จอมทอง
วัดไทร
วัดสิงห์
บางบอน
การเคหะ
รางสะแก
รางโพธิ์
สามแยก
พรมแดน
ทุ่งศรีทอง
บางน้ำจืด
คอกควาย
บ้านขอม
คลองจาก
มหาชัย
แผนภาพนี้:
ผู้ดำเนินงาน รอเอกชนเข้าร่วมประมูล

ใกล้เคียง

รถไฟฟ้าบีทีเอส รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู รถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง รถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงก์ รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม รถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รถไฟฟ้า มาหานะเธอ