คู่มือการเขียนบทความ ของ วิกิพีเดีย:โครงการวิกิสามก๊ก

คู่มือการเขียนบทความ เป็นคู่มือแนะนำหลักการเขียนบทความสามก๊กในวิกิพีเดีย จากจุดเริ่มต้นของการเขียนบทความ จนสามารถไต่ระดับของการเขียนจาก {{โครง}} เพื่อให้ได้ระดับ {{บทความคัดสรร}} โดย ใช้แม่แบบ {{Three Kingdoms infobox}} หรือ {{กล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก}} สำหรับใช้ในการเขียนบทความสามก๊กในส่วนของตัวละคร ใช้แม่แบบ {{กล่องข้อมูล กลศึกสามก๊ก}} สำหรับใช้ในการเขียนบทความสามก๊กในส่วนของกลศึกสามก๊ก และใช้แม่แบบ {{กล่องข้อมูล สงครามสามก๊ก}} สำหรับใช้ในการเขียนบทความสามก๊กในส่วนของศึกสงครามที่ปรากฏในวรรณกรรม

การใช้กล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก

การใช้กล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก เป็นการแนะนำเบื้องต้นของการเริ่มเขียนบทความสามก๊กในส่วนของตัวละคร ทุก ๆ คนที่มีความสนใจที่จะเริ่มต้นการเขียนบทความสามก๊กในส่วนของตัวละครในวิกิพีเดีย สามารถเริ่มต้นก้าวแรกของบทความ ด้วยการคัดลอกเอา code ของกล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊กจากบทความตัวละครสามก๊กจากวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ และนำมาใช้งานในวิกิพีเดียไทยได้ทั้งหมด เพราะการแสดงผลของกล่องข้อมูล ถูกกำหนดค่าไว้ให้สามารถแสดงผลเป็นภาษาไทย โดยลักษณะเฉพาะของกล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก มีรายละเอียดดังนี้

  1. Royalty เป็นส่วนที่ใช้กำหนดสถานะชื่อของตัวละคร โดยแบ่งเป็น yes และ no ถ้าตัวละครมีสถานะเป็นพระราชวงศ์ ให้กำหนดค่าในส่วนนี้ = yes เช่นพระเจ้าเหี้ยนเต้ สถานะจะกำหนดเป็น
    | Royalty = yes
    ถ้าตัวละครเป็นสามัญชนธรรมดา ให้กำหนดค่าในส่วนนี้ = no เช่นเตียวเสี้ยน สถานะจะกำหนดเป็น
    | Royalty = no
  2. Name เป็นการกำหนดชื่อของตัวละคร ให้กำหนดค่าในส่วนนี้เช่น ตั๋งโต๊ะ ลิโป้ ลกซุน กองซุนจ้าน งักจิ้น เป็นต้น
  3. Title เป็นการกำหนดตำแหน่งของตัวละคร ให้กำหนดค่าในส่วนนี้ตามตำแหน่งของตัวละคร เช่น เจ้าเมือง, แม่ทัพ, ขุนพล, เสนาธิการ, กวี, หมอดู ผู้เป็นใหญ่ ฯลฯ ตามแต่ตำแหน่งของตัวละคร เป็นต้น
  4. Kingdom เป็นการกำหนดอาณาจักร เขตแดน ราชวงศ์ ให้กำหนดค่าในส่วนนี้ เช่น วุยก๊ก ราชวงศ์ฮั่น เจ้าเมืองปักเพ้ง เป็นต้น
  5. Belong เป็นการกำหนดสังกัดของตัวละคร ว่าเป็นขุนพลของผู้ใด เช่น กิเหลงเป็นขุนพลของอ้วนสุด เป็นต้น
  6. Image เป็นภาพที่ใช้แสดงประกอบบทความ ให้กำหนดค่าในส่วนนี้ เช่น ภาพ:Cao Cao Portrait.jpg เป็นต้น
    • การนำภาพตัวของละครในสามก๊กมาใช้ประกอบบทความ ในส่วนของกล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก สามารถใช้ได้ทั้งภาพแนวตั้งและแนวนอน โดยกำหนดขนาดของภาพที่นำมาใช้ที่ขนาด 250px
    • หากต้องการภาพของตัวละครในสามก๊กในภาพอื่น ๆ สามารถนำภาพตัวละครจากวิกิคอมมอนส์ อาณาจักรสามก๊กมาประกอบบทความ
  7. Image_size เป็นการกำหนดขนาดของภาพที่ใช้แสดบประกอบบทความ ซึ่งหากไม่กำหนดขนาดของภาพในส่วนนี้ ภาพที่นำมาใช้ประกอบบทความจะถูกกำหนดขนาดโดยอัตโนมัติที่ 250px
  8. Caption เป็นคำบรรยายที่ใช้ในการอธิบายรายละเอียดภาพ แหล่งที่มาหรืออื่น ๆ ถ้าไม่สามารถกำหนดคำบรรยายได้ ให้ปล่อยว่างไว้ เช่นตัวอย่างคำบรรยายของภาพ "ภาพวาดโจโฉในสมัยราชวงศ์ฮั่น"
  9. Born เป็นการกำหนดวัน เดือน ปีเกิดของตัวละคร เช่น ไทสูจู้ เกิดในปี พ.ศ. 709 โดยให้กำหนดเพียงแค่ปี พ.ศ. เท่านั้นเป็นต้น
  10. Birth_place เป็นการกำหนดสถานที่เกิดของตัวละคร เช่น จงโฮย เกิดที่ตำบลฉางเซ่อ เมืองอิงชวน มณฑลเหอนาน ประเทศจีน เป็นต้น
  11. Died เป็นการกำหนดวัน เดือน ปีเสียชีวิตของตัวละคร เช่น จูล่ง ตายในปี พ.ศ. 772 โดยให้กำหนดเพียงแค่ปี พ.ศ. เท่านั้นเป็นต้น
  12. Death_place เป็นการกำหนดสถานที่เสียชีวิตของตัวละคร เช่นโตเกี๋ยมเสียชีวิตที่ซีจิ๋ว เป็นต้น
  13. Predecessor เป็นการกำหนดรายชื่อบุคคลที่ดำรงตำแหน่งในสมัยก่อน เช่น พระเจ้าเลนเต้ทรงดำรงตำแหน่งก่อนพระเจ้าหองจูเปียน เป็นต้น
  14. Successor เป็นการกำหนดรายชื่อบุคคลที่ดำรงตำแหน่งในสมัยถัดไป เช่น พระเจ้าโจผีทรงดำรงตำแหน่งต่อจากพระเจ้าโจโฉ เป็นต้น
  15. Simp เป็นการกำหนดอักษรจีนตัวย่อของตัวละคร เช่น ขงเบ้ง มีชื่ออักษรจีนตัวย่อ = 诸葛亮
  16. Trad เป็นการกำหนดอักษรจีนตัวเต็มของตัวละคร เช่น กวนลอ มีชื่ออักษรจีนตัวเต็ม = 管輅
  17. Pinyin เป็นการกำหนดอักษรจีนพินอินของตัวละคร เช่น สุมาอี้ มีชื่ออักษรจีนพินอิน = Sīmǎ Yì
  18. WG เป็นการกำหนดอักษรจีนเวด-ไจลส์ของตัวละคร เช่น เตียวคับ มีชื่อักษรเวด-ไจลส์ = Chang Ho
  19. Putonghua เป็นการกำหนดคำอ่านของชื่อตัวละครเป็นจีนกลาง เช่น กองซุนจ้าน กำหนดคำอ่านตามสำเนียงจีนกลาง = กงซุนจ้าน
  20. Minnan เป็นการกำหนดคำอ่านของชื่อตัวลครตามคำอ่านสำเนียงฮกเกี้ยน ตามฉบับของสามก๊ก (ฉบับหอพระสมุด) เช่น กาเซี่ยง กำหนดคำอ่านตามสำเนียงฮกเกี้ยน = กาเซี่ยง
  21. Zi เป็นการกำหนดชื่อรองของตัวละคร เช่น กวนอู มีชื่อรองหวินฉาง หรือ หยุนฉาง หรือ หุนเตี๋ยง (雲長) -- ทีฆเมฆา ฉางเซิง (長生) -- ทีฆชีวิน
  22. Post เป็นการกำหนดสมัญญานามของตัวละครหลังเสียชีวิต เช่นสมัญญานามของกวนอูหลังจากเสียชีวิตคือ จ้วงโหมวโห (壯繆侯) -- เจ้าพระยาจ้วงโหมว
  23. Buddhism เป็นการกำหนดชื่อในคติพุทธศาสนามหายานของตัวละคร เช่นกวนอูมีชื่อในทางคติพุทธศาสนามหายานคือสังฆรามโพธิสัตว์ เฉียหลันปู๋ซ่า (伽藍菩薩)
  24. Deity = เป็นการกำหนดเทพนามของตัวละครซึ่งเป็นชื่อที่ให้แก่บุคคลในฐานะเทพเจ้าเมื่อวายชนม์ไปแล้ว เช่นกวนอูมีเทพนามคือ กวนเซิ่งตี้จุน (關聖帝君) เทพกษัตริย์กวนอวี่
  25. Other = เป็นการกำหนดชื่ออื่น ๆ ของตัวละคร เช่น กวนอูมีชื่อเรียกอื่น ๆ คือกวนกง (關公) พระยากวนอวี่ กวนเอ้อเหยฺ (關二爺) ท่านปู่รองกวนอวี่ เหม่ยหรันกง (美髯公) พระยาผู้มีหนวดงาม กวนตี้ หรือกวนเต้ (關帝) สมเด็จพระจักรพรรดิกวนอวี่
    • ในกรณีที่ไม่สามารถกำหนดค่าในพารามิเตอร์ใดในแม่แบบได้ ให้เว้นว่างไว้โดยไม่ต้องกำหนดค่า การแสดงผลของพารามิเตอร์จะไม่ปรากฏในหน้าของบทความ

วิธีการใช้งานกล่องข้อมูล

วิธีใช้งานกล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก สำหรับบทความตัวละครในสามก๊ก ให้ทำการคัดลอกข้อมูลทางด้านล่างนี้ แล้วนำไปใส่ไว้ในส่วนบนสุดของบทความที่เริ่มดำเนินการเขียน

code ของกล่องข้อมูลตัวละครสามก๊ก ที่นำมาใส่ในหน้าบทความรายละเอียดของตัวละครที่ปรากฏ
 {{กล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก| Royalty = | Name = | Title = | Kingdom = | Image = | Image_size = | Caption = | Born = | Birth_place = | Died = | Death_place = | Predecessor = | Successor = | Simp = | Trad = | Pinyin = | WG = | Putonghua = | Minnan = | Zi = | Post = | Buddhism = | Deity = | Other = }}
=   yes=   โจโฉ=   จักรพรรดิ=   ราชวงศ์วุย=   Cao Cao Portrait.jpg=   250px=   สมเด็จพระจักรพรรดิเฉาเชาแห่งราชวงศ์เฉาเว่ย=   [[พ.ศ. 698]]=   เมืองโป๋โจว มณฑลอันฮุย ประเทศจีน=   [[15 มีนาคม]] [[พ.ศ. 763]] =   เมืองลั่วหยาง มณฑลเหอหนาน ประเทศจีน=   [[ตั๋งโต๊ะ]]=   [[โจผี]]=   曹操=   曹操=   Cáo Cāo=   Ts'ao² Ts'ao¹=   เฉาเชา=   โจโฉ=   เมิ่งเต๋อ (孟德)=   หวู่ (武)=   หวู่ตี้ (武帝) "ยุทธราชัน" ไท่จู่ (太祖)"พระเจ้าปู่"=   '''พระนามขณะทรงพระเยาว์''' อาหมาน (阿瞞) จี๋ลี่ (吉利) =   <!---ถ้าตัวละครไม่มีชื่ออื่น ๆ ให้เว้นว่างไว้--->
ตัวอย่างการใช้งานกล่องข้อมูล ตัวละครสามก๊ก
ตำแหน่งจักรพรรดิ ตำแหน่งเจ้าเมือง ตำแหน่งเสนาธิการ ตำแหน่งแม่ทัพ ตำแหน่งขุนพล ตัวละครอื่น ๆ  


การใช้กล่องข้อมูล สงครามสามก๊ก

การใช้กล่องข้อมูล สงครามสามก๊ก เป็นการแนะนำเบื้องต้นของการเริ่มเขียนบทความสามก๊กในส่วนของการเกิดศึกสงครามในยุคสามก๊ก ทุก ๆ คนที่มีความสนใจที่จะเริ่มต้นการเขียนบทความสามก๊กในส่วนของศึกสงครามสามก๊กในวิกิพีเดีย สามารถเริ่มต้นก้าวแรกของบทความ ด้วยการคัดลอกเอา code ของ{{กล่องข้อมูล สงครามสามก๊ก}}จากบทความศึกสงครามสามก๊กจากวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ และนำมาใช้งานในวิกิพีเดียไทยได้ทั้งหมด เพราะการแสดงผลของกล่องข้อมูล ถูกกำหนดค่าไว้ให้สามารถแสดงผลเป็นภาษาไทย โดยลักษณะเฉพาะของกล่องข้อมูล สงครามสามก๊ก มีรายละเอียดดังนี้

  1. name เป็นการกำหนดชื่อศึกสงครามที่ปรากฏในสามก๊ก ให้กำหนดชื่อศึกสงคราม เช่น ศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว, ศึกเซ็กเพ็ก, ศึกทุ่งพกบ๋อง เป็นต้น
  2. partof เป็นการกำหนดสถานะของศึกสงคราม ซึ่งจะปรากฏชื่อของศึกสงครามเป็นส่วนหนึ่งของสงครามสามก๊ก เช่นศึกหับป๋าเป็นส่วนหนึ่งของสงครามสามก๊ก เป็นต้น
  3. image เป็นภาพที่ใช้แสดงประกอบบทความ ให้กำหนดค่าในส่วนนี้ เช่น ภาพ:Zhaoyunfightsatchangban.jpg เป็นต้น
    • การนำภาพตัวของสงครามในสามก๊กมาใช้ประกอบบทความ ในส่วนของกล่องข้อมูล สงครามสามก๊ก สามารถใช้ได้ทั้งภาพแนวตั้งและแนวนอน โดยกำหนดขนาดของภาพที่นำมาใช้ที่ขนาด 250px
    • หากต้องการภาพของสงครามในสามก๊กในภาพอื่น ๆ สามารถนำภาพสงครามต่าง ๆ ในยุคสามก๊กจากวิกิคอมมอนส์ อาณาจักรสามก๊กมาประกอบบทความ
  4. caption เป็นคำบรรยายที่ใช้ในการอธิบายรายละเอียดภาพ แหล่งที่มาหรืออื่น ๆ ถ้าไม่สามารถกำหนดคำบรรยายได้ ให้ปล่อยว่างไว้ เช่นตัวอย่างคำบรรยายของภาพ "ภาพวาดเล่าปี่ กวนอู เตียวหุยรุมลิโป้ในศึกปราบลิโป้"
  5. date เป็นการกำหนดวัน เดือน ปีเกิดของการเกิดศึกสงคราม เช่น ศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 751 เป็นต้น
  6. place เป็นการกำหนดสถานที่เกิดศึกสงคราม เช่น ศึกสะพานเตียงปันเกี้ยวเกิดขึ้นที่เตียงปัน มณฑลหูเป่ย ประเทศจีน เป็นต้น
  7. territory เป็นการกำหนดอาณาเขตแดนของการทำศึกสงคราม เช่น ศึกสะพานเตียงปันเกี้ยวมีอาณาเขตแดนที่บริเวณสะพานเตียงปันเกี้ยว เมืองกังเหลง เป็นต้น
  8. result เป็นการกำหนดผลลัพธ์ของศึกสงคราม เช่น ศึกสะพานเตียงปันเกี้ยวโจโฉเป็นฝ่ายชนะ เล่าปี่ต้องอพยพหลบหนี เป็นต้น
  9. combatant1 เป็นการกำหนดผู้เข้าร่วมทำศึกสงคราม สามารถกำหนดผู้เข้าร่วมทำศึกได้ 3 ฝ่ายด้วยกัน เช่นผู้เข้าร่วมทำศึกเซ็กเพ็กฝ่ายที่ 1 ได้แก่เล่าปี่
  10. combatant2 เป็นการกำหนดผู้เข้าร่วมทำศึกสงคราม สามารถกำหนดผู้เข้าร่วมทำศึกได้ 3 ฝ่ายด้วยกัน เช่นผู้เข้าร่วมทำศึกเซ็กเพ็กฝ่ายที่ 2 ได้แก่โจโฉ
  11. combatant3 เป็นการกำหนดผู้เข้าร่วมทำศึกสงคราม สามารถกำหนดผู้เข้าร่วมทำศึกได้ 3 ฝ่ายด้วยกัน เช่นผู้เข้าร่วมทำศึกเซ็กเพ็กฝ่ายที่ 3 ได้แก่ซุนกวน
  12. commander1 เป็นการกำหนดผู้บัญชาการกองทัพ สามารถกำหนดผู้บัญญาการกองทัพได้ 3 ฝ่ายด้วยกัน โดยหมายเลข 1 2 3 จะเป็นตัวกำหนดฝ่ายของผู้ร่วมทำศึก เช่นผู้บัญญาการกองทัพในศึกเซ็กเพ็ก ฝ่ายที่ 1 ได้แก่กวนอู, เตียวหุย, จูล่ง
  13. commander2 เป็นการกำหนดผู้บัญชาการกองทัพ สามารถกำหนดผู้บัญญาการกองทัพได้ 3 ฝ่ายด้วยกัน เช่นผู้บัญญาการกองทัพในศึกเซ็กเพ็ก ฝ่ายที่ 2 ได้แก่เทียเภา, เตียวเลี้ยว
  14. commander3 เป็นการกำหนดผู้บัญชาการกองทัพ สามารถกำหนดผู้บัญญาการกองทัพได้ 3 ฝ่ายด้วยกัน เช่นผู้บัญญาการกองทัพในศึกเซ็กเพ็ก ฝ่ายที่ 3 ได้แก่โลซก, จิวยี่
  15. strength1 เป็นการกำหนดกองกำลังของทหารในแต่ะฝ่าย เช่นกองกำลังทหารในศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว ฝ่ายที่ 1 มีกองกำลังทหารราบ 10,000 คน ,ทหารม้า 5,000 คน
  16. strength2 เป็นการกำหนดกองกำลังของทหารในแต่ะฝ่าย เช่นกองกำลังทหารในศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว ฝ่ายที่ 2 มีกองกำลังทหารราบ 10,000 คน
  17. casualties1 เป็นการกำหนดความสูญเสียที่เกิดจากสงครามในแต่ละฝ่าย โดยหมายเลข 1 2 3 จะเป็นตัวกำหนดค่าของความสูญเสียจากสงคราม
    • ในกรณีที่ไม่สามารถกำหนดค่าในพารามิเตอร์ใดในแม่แบบได้ ให้เว้นว่างไว้โดยไม่ต้องกำหนดค่า การแสดงผลของพารามิเตอร์จะไม่ปรากฏในหน้าของบทความ

วิธีการใช้งานกล่องข้อมูล

วิธีใช้งานกล่องข้อมูล สงครามครสามก๊ก สำหรับบทความสงครามในสามก๊ก ให้ทำการคัดลอกข้อมูลทางด้านล่างนี้ แล้วนำไปใส่ไว้ในส่วนบนสุดของบทความที่เริ่มดำเนินการเขียน

code ของกล่องข้อมูล สงครามสามก๊ก ที่นำมาใส่ในหน้าบทความรายละเอียดของสงครามที่ปรากฏ
 {{กล่องข้อมูล สงครามสามก๊ก| name = | partof = | image = | caption = | date = | place = | territory = | result = | combatant1 = | combatant2 = | combatan3 = | commander1 = | commander2 = | commander3 = | strength1 = | strength2 = | strength3 = }}
=   ศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว=   [[สงครามสามก๊ก]]=   ภาพ:Zhaoyunfightsatchangban.jpg=   ภาพศึกสะพานเตียงปันเกี้ยว=   [[พ.ศ. 751]] =   เตียงปัน [[มณฑลหูเป่ย]] [[ประเทศจีน]]=   สะพานเตียงปันเกี้ยว เมืองกังเหลง=   โจโฉเป็นฝ่ายชนะ เล่าปี่ต้องอพยพหลบหนี=   [[เล่าปี่]]=   [[โจโฉ]]=   <!---ถ้าไม่มีผู้เข้าร่วมสงครามฝ่ายที่ 3 ให้เว้นว่างไว้--->=   [[กวนอู]], [[เตียวหุย]], [[จูล่ง]]=   [[โจหยิน]], [[เคาทู]]=   <!---ถ้าไม่มีผู้เข้าร่วมสงครามฝ่ายที่ 3 ให้เว้นว่างไว้--->=   ทหารราบ 10,000 คน  ทหารม้า 5,000 คน=   ทหาราบ 10,000 คน=   <!---ถ้าไม่มีผู้เข้าร่วมสงครามฝ่ายที่ 3 ให้เว้นว่างไว้--->

การใช้กล่องข้อมูลกลศึกสามก๊ก

กลยุทธ์ตีชิงตามไฟ
ผู้วางกลศึกตั๋งโต๊ะ
ผู้ต้องกลศึกพระเจ้าหองจูเหียบ
ผู้ร่วมกลศึกลิโป้, ลิยู
ประเภทกลยุทธ์ชนะศึก
หลักการฉวยโอกาสซ้ำเติมศัตรูยามเสียเปรียบ
สาเหตุตั๋งโต๊ะซึ่งมีจิตใจหยาบช้าและเต็มไปด้วยความทะเยอทะยาน มองเห็นโอกาสที่จะฉกฉวยแย่งชิงเอาราชสมบัติมาเป็นของตน
สถานที่วังหลวง
ผลลัพธ์ตั๋งโต๊ะเข้ายึดอำนาจมาเป็นของตน
กลศึกก่อนหน้ากลยุทธ์รอซ้ำยามเปลี้ย
กลศึกถัดไปกลยุทธ์ส่งเสียงบูรพาฝ่าตีประจิม

การใช้กล่องข้อมูล กลศึกสามก๊ก เป็นการแนะนำเบื้องต้นของการเริ่มเขียนบทความสามก๊กในส่วนของกลศึกที่ใช้ในสงครามยุคสามก๊ก ทุก ๆ คนที่มีความสนใจที่จะเริ่มต้นการเขียนบทความสามก๊กในส่วนของกลศึกสามก๊กในวิกิพีเดีย สามารถเริ่มต้นก้าวแรกของบทความ ด้วยการคัดลอกเอา code ของ{{กล่องข้อมูล กลศึกสามก๊ก}} โดยลักษณะเฉพาะของกล่องข้อมูล กลศึกสามก๊ก มีรายละเอียดดังนี้

  1. ชื่อ เป็นการกำหนดชื่อกลศึกสงครามที่ปรากฏในสามก๊ก ให้กำหนดชื่อศึกสงคราม เช่น กลยุทธ์ปิดฟ้าข้ามทะเล, กลยุทธ์หลบหนี, กลยุทธ์ตีชิงตามไฟ เป็นต้น
  2. ภาพ, ภาพ2 เป็นภาพที่ใช้แสดงประกอบบทความ ให้กำหนดค่าในส่วนนี้ เช่น ภาพกลยุทธ์ยามพ่าย.jpg ซึ่งในเป็นภาพที่จัดหมวดหมู่ของกลยุทธ์ต่าง ๆ เป็นต้น
  3. คำอธิบายภาพ, คำอธิบายภาพ2 เป็นคำบรรยายที่ใช้ในการอธิบายรายละเอียดภาพ ถ้าไม่มีการอธิบายรายละเอียดให้เว้นว่างไว้
  4. ผู้วางกลศึก เป็นการกำหนดชื่อของผู้วางแผนกลศึก เช่น ผู้วางแผนกลยุทธยุทธ์หลบหนีคือขงเบ้ง เป็นต้น
  5. ผู้ต้องกลศึก เป็นการกำหนดชื่อของผู้ต้องกลศึก เช่น ผู้ต้องกลยุทธ์หลบหนีคือจิวยี่ เป็นต้น
  6. ผู้ร่วมกลศึก
  7. ประเภท เป็นการกำหนดประเภทของกลศึกสามก๊ก ซึ่งมีทั้งหมด 6 หมวดหมู่ได้แก่ กลยุทธ์ชนะศึก กลยุทธ์เผชิญศึก กลยุทธ์เข้าตี กลยุทธ์ติดพัน กลยุทธ์ร่วมรบ กลยุทธ์ยามพ่าย ซึ่งประกอบไปด้วยกลศึก 36 กลศึกได้แก่
  8. หลักการ เป็นการกำหนดลักษณะขอบเขตของกลศึก เช่น กลยุทธ์หลบหนีใช้ลักษณะขอบเขตถอยหนีมิผิด เป็นวิสัยแห่งสงคราม เป็นต้น
  9. สาเหตุ
  10. สถานที่ เป็นการกำหนดสถานที่ในการวางแผนกลศึก เช่น สถานที่ที่ขงเบ้งใช้กลยุทธ์หลบหนี เอาตัวรอดจากจิวยี่คือลำเขาปินสาน เป็นต้น
  11. ผลลัพธ์ เป็นการกำหนดผลลัพธ์ของการใช้กลศึก เช่น ผลลัพธ์ของการใช้กลยุทธ์หลบหนีคือขงเบ้งสามารถลอบหลบหนีกจาการปองร้ายจากจิวยี่ได้อย่างปลอดภัย เป็นต้น
  12. กลศึกก่อนหน้า
  13. กลศึกถัดไป
  14. หมายเหตุ
    • ในกรณีที่ไม่สามารถกำหนดค่าในพารามิเตอร์ใดในแม่แบบได้ ให้เว้นว่างไว้โดยไม่ต้องกำหนดค่า การแสดงผลของพารามิเตอร์จะไม่ปรากฏในหน้าของบทความ

วิธีการใช้งานกล่องข้อมูล

วิธีใช้งานกล่องข้อมูล กลศึกสามก๊ก สำหรับบทความกลศึกในสามก๊ก ให้ทำการคัดลอกข้อมูลทางด้านล่างนี้ แล้วนำไปใส่ไว้ในส่วนบนสุดของบทความที่เริ่มดำเนินการเขียน

{{กล่องข้อมูล กลศึกสามก๊ก| ชื่อ = | ภาพ = | คำอธิบายภาพ = | ภาพ2 = | ผู้วางกลศึก = | ผู้ต้องกลศึก = | ผู้ร่วมกลศึก = | ประเภท = | หลักการ = | สาเหตุ = | สถานที่ = | ผลลัพธ์ = | กลศึกก่อนหน้า = | กลศึกถัดไป = | หมายเหตุ = }}

ใกล้เคียง

วิกิพีเดียภาษาไทย วิกิพีเดีย วิกิพีเดียภาษาอังกฤษ วิกิพจนานุกรม วิกิพีเดียภาษาสเปน วิกิพีเดียภาษาคาซัค วิกิพีเดียภาษาอินโดนีเซีย วิกิพีเดียภาษาไซลีเซีย วิกิพีเดียภาษารัสเซีย วิกิพีเดียภาษากาตาลา