เชิงอรรถ ของ แอนน์แห่งเดนมาร์ก

  1. วิลเลียมส์, 1, 201; วิลสัน, 403
  2. Stewart, 182, 300–301.
  3. บาร์โรล, 15, 35, 109; “ถึงแม้ว่าแอนนาจะมีเสรีภาพส่วนพระองค์พอประมาณและทรงมีราชสำนักส่วนพระองค์ พระองค์ก็มิได้ทรงแสดงความขัดแย้งทางการเมืองที่เป็นฝักฝ่ายต่อพระสวามีอย่างออกหน้าออกตาเช่นเมื่อประทับอยู่ที่สกอตแลนด์ และไม่ทรงได้รับคำขอให้สนับสนุน ความมีชื่อเสียงราชสำนักส่วนพระองค์อยู่ที่การพบปะด้านศิลปะ” Stewart, 183
  4. อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีรายงานว่าแอนน์แห่งเดนมาร์กสิ้นพระชนม์อย่างไม่ทรงยอมรับนิกายโรมันคาทอลิก แต่จอห์น รีด บาร์โรลติงว่า “แต่เราน่าจะคุ้นเคยกับ “การแถลงข่าว” ในสมัยของแอนน์แห่งเดนมาร์กก็เช่นกันที่ทางการเห็นความจำเป็นในการประกาศอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการสิ้นพระชนม์ว่าเป็นการสิ้นพระชนม์แบบที่เป็นที่ยอมรับของสังคม” บาร์โรล, 172; จดหมายจากแอนน์ถึงสกิพิโอนิ บอร์เกเซเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1601 บันทึกว่า “ยอมรับนิกายโรมันคาทอลิกด้วยความเต็มใจ” ตามคำกล่าวของแม็คมานัส, 93
  5. แอ็กเนส สตริคแลนด์ (ค.ศ. 1848), 276 ดึงเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2007; วิลสัน, 95; “Her traditionally flaccid court image...” บาร์โรล, 27; ครอฟต์, 55; “แอนน์ทรงเป็นบุคคลที่ไม่ค่อยน่าสนใจแต่ก็ทรงมีความอดทนพอที่จะทนผู้คนตราบใดที่ยังทำให้พอพระทัย แอนน์ทรงมีความสนพระทัยในสิ่งที่ไม่หนักไปกว่าเรื่องฉลองพระองค์” เอคริก, 21
  6. “ (แอนน์) ทรงมีบทบาทในวงการเมืองในราชสำนักอย่างรวดเร็ว ด้านหนึ่งในชีวิตใหม่ของพระองค์ที่นักเขียนชีวประวัติสองสามคนของพระองค์มิได้เห็นเป็นเรื่องสำคัญ... ไม่นานก็ทรงมีบทบาททางการเมืองภายในราชสำนักสกอตแลนด์” บาร์โรล, 17; “แม้ว่านักประวัติศาสตร์จะไม่ให้ความสนใจกับพระองค์เท่าใดนัก พระราชินีของพระเจ้าเจมส์แอนน์แห่งเดนมาร์กมีพระปรีชาสามารถทางการเมือง” ชาร์พ, 244; “ถึงแม้ว่าอิทธิพลทางวัฒนธรรมระดับสูงระหว่างสมัยสจวตของพระมหากษัตริย์องค์ใหม่จะเป็นที่เห็นได้ในราชสำนัก...ระหว่างทศวรรษแรกของรัชสมัย ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ นี้มีมูลฐานมาจากแอนน์แห่งเดนมาร์กพระราชินีที่ไม่ค่อยจะมีใครกล่าวถึงของเจมส์” บาร์โรล, 1–2
  7. วิลเลียมส์, 1
  8. วิลเลียมส์, 3
  9. วิลเลียมส์, 2
  10. วิลเลียมส์, 5
  11. ครอฟต์, 24; แดเนียล โรเจอร์สผู้แทนอังกฤษรายงานมายัง วิลเลียม เซซิล บารอนแห่งเบอร์ลีย์ที่ 1ว่าพระราชินีโซฟีทรงเป็น “เจ้าหญิงผู้มีคุณธรรมความดีผู้ทรงดูแลพระโอรสธิดาด้วยความมีพระปรีชาสามารถ” วิลเลียมส์, 4.
  12. ครอฟต์, 24; คู่หมายอีกคนหนึ่งของพระเจ้าเจมส์คือ แคทเธอรีนแห่งนาวาร์ ดัชเชสแห่งลอร์แรน (ผู้มีพระชันษาแก่กว่าพระองค์ 8 พรรษา) แคทเธอรีนเป็นพระขนิษฐาของอูเกอโนท์พระเจ้าอองรีที่ 4 แห่งฝรั่งเศส (พระเจ้าอองรีแห่งนาร์แวร์) และเป็นผู้ที่สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 ทรงพอพระทัยมากกว่า. สจวต, 105-106; วิลเลียมส์, 12 เหตุผลหนึ่งที่พระเจ้าเจมส์ไม่ทรงยอมตกลง ก็อาจจะมีสาเหตุมาจากการที่พระเจ้าอองรีทรงตั้งข้อเรียกร้องจากพระองค์ในการสนับสนุนทางการทหารในยามสงคราม. วิลสัน, 86
  13. วิลเลียมส์, 10
  14. วิลเลียมส์, 10; วิลล์สัน, 87-88
  15. นักบวชตั้งข้อสังเกตในงานพระบรมศพของพระเจ้าเฟรดริคว่า “ถ้าเสวยน้ำจันต์น้อยลงสักหน่อย ก็คงจะมีพระชนมายุยืนขึ้นบ้าง” วิลเลียมส์, 6
  16. หมู่เกาะออร์คนีย์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสินสมรสของเจ้าหญิงมาร์กาเร็ตแห่งเดนมาร์กเมื่อทรงเสกสมรสกับพระเจ้าเจมส์ที่ 3 แห่งสกอตแลนด์ในปี ค.ศ. 1469 เดนมาร์กได้รับคืนหลังจากค่าสินสมรสที่เป็นตัวเงินได้รับการชำระหมด. วิลเลียมส์, 10.
  17. ชาวเดนส์ยอมประกาศสละสิทธิหมู่เกาะออร์คนีย์ เมื่อพระเจ้าเจมส์ทรงประกาศว่าจะไม่ทรงเป็นทำพระองค์เช่นพ่อค้าสำหรับเจ้าสาว และทรงยุติข้อเรียกร้องสินสมรสที่สูงจนเกินกว่าเหตุ. วิลเลียมส์, 14; วิลล์สัน, 88.
  18. วิลเลียมส์, 14–15.
  19. จดหมายุถึงวิลเลียม แอชบีย์ เอกอัครราชทูตประจำเดนมาร์ก. วิลเลียมส์, 15.
  20. “ตลอดพระชนม์ชีพนอกไปจากหกเดือนที่เสกสมรสแล้ว พระเจ้าเจมส์ก็ไม่แสดงว่าโปรดสตรีและทรงมีความเห็นว่าสตรีเป็นเพศที่มีความสามารถด้อยกว่า ความสนพระทัยของพระองค์ส่วนใหญ่แล้วจะมีให้กับชายหนุ่ม” วิลเลียมส์, 14–15.
  21. นอกไปจากชุดแต่งงานแล้วก็ยังมีช่างอีกห้าร้อยคนที่ทำงานตลอดสามเดือนเพื่อเตรียมเครื่องทรง. วิลล์สัน, 87
  22. ครอฟต์, 23–4
  23. “God is my witness, I could have abstained longer than the weal of my country could have permitted, [had not] my long delay bred in the breasts of many a great jealousy of my inability, as if I were a barren stock.” วิลล์สัน, 85.
  24. วิลเลียมส์, 15; แมคมานัส, 61
  25. ที่เอลซินอร์ปืนใหญ่ลั่นโดยอุบัติเหตทำให้ลูกเรือเสียชีวิตไปสองคน วันรุ่งขึ้นเมื่อมีการยิงปืนเพื่อเป็นเกียรติแก่ขุนนางสกอตสองคน ปืนก็ระเบิดทำให้คนยิงเสียชีวิตและลูกเรืออีกเก้าคนบาดเจ็บ จากนั้นก็ประสบมรสุมจนเรือของพระองค์หายไปอย่างไม่มีร่องรอยอยู่สามวัน ต่อมาเรือสองลำก็ชนกันทำให้ลูกเรือเสียชีวิตไปอีกสองคน “กิดเดียน” เรือพระที่นั่งก็รั่วจนต้องแวะเข้าซ่อมที่ Gammel Sellohe ที่นอร์เวย์ แต่ก็รั่วอีกเมื่อนำออกจากอู่ เมื่อกองเรือจอดพักอยู่ที่ Flekkerø เวลาก็ล่วงมาจนถึงเดือนตุลาคมเมื่อลูกเรือไม่เต็มใจที่จะนำเรือข้ามไปยังสกอตแลนด์ในช่วงเวลานั้น. สจวต, 109.
  26. สจวต, 109; ในขณะนั้นพระเจ้าแผ่นดินแห่งเดนมาร์กทรงปกครองทั้งเดนมาร์กและนอร์เวย์. วิลเลียมส์, 207
  27. สจวต, 107
  28. วิลล์สัน, 88; วิลเลียมส์, 17; ทรงเฝ้าดูฝั่งทะเลจากคฤหาสน์ซีตันซึ่งเป็นที่พำนักของ ลอร์ดซีตัน เอิร์ลแห่งวิลตันที่ 1 ผู้เป็นพระสหาย. สจวต, 108
  29. วิลล์สัน, 89; สจวต, 108; วิลเลียมส์, 19
  30. วิลล์สัน, 85; สจวต, 109.
  31. ในบันทึกที่ทรงทิ้งไว้ทรงบันทึกว่าสาเหตุที่ทรงตัดสินใจเดินทางก็เพื่อแสดงให้ผู้อื่นเห็นว่าทรงมีความสามารถที่จะทำอะไรด้วยพระองค์เองได้ (he was no “irresolute ass who could do nothing of himself”). วิลล์สัน, 90; สจวต, 112; วิลเลียมส์กล่าวว่าพระเจ้าเจมส์ต้องทรงเป็นผู้มีความกล้าหาญพอประมาณที่ตัดสินใจเดินทางข้ามโดยเรือขนาด 130 ตันในช่วงหน้าหนาวซึ่งเป็นระยะเวลาที่อันตรายที่สุดในการเดินทางข้ามทะเลเหนือ. วิลเลียมส์, 18
  32. “พระเจ้าเจมส์ประทานจูบพระราชินีตามแบบสกอตเมื่อทรงพบกันซึ่งแอนน์ทรงประท้วงว่ามิใช่เป็นประเพณีจากบ้านเมืองของพระองค์ และทรงปิติหลังที่ได้ทรงสนทนากันเป็นการส่วนพระองค์ระหว่างสองพระองค์” สจวตกล่าวจากบันทึกโดยเดวิด ม็อยซี, 112; วิลเลียมส์, 20; แมคมานัสมีความเห็นว่าการประท้วงของแอนน์เป็นสัญญาณของความเป็นตัวของตัวเองของพระองค์. แมคมานัส, 65–6; วิลล์สันเคลือบแคลงในความเท็จจริงของบันทึกของม็อยซีและไปอ้างคำบรรยายของเดนมาร์กแทนที่ว่าพระเจ้าเจมส์เสด็จมาถึงออสโลอย่างสมพระเกียรติและทรงปฏิบัติพระองค์ถูกต้องตามประเพณีทางการทูตอย่างเต็มตัว. วิลล์สัน, 90–1
  33. สจวต, 112.
  34. สจวต, 112; วิลล์สัน, 91.
  35. สจวต, 113; วิลเลียมส์, 23. แอนน์และพระเจ้าเจมส์อาจจะทำพิธีแต่งงานอีกครั้งที่ปราสาทโครนบอร์ก ครั้งนี้ตามพิธีแบบลูเธอรันเมื่อวันที่ 21 มกราคม ค.ศ. 1590. วิลเลียมส์, 23; แมคมานัสกล่าวว่าการแต่งงานครั้งที่สองไม่มีหลักฐานสนับสนุน. แมคมานัส, 61.
  36. สจวต, 117.
  37. สจวต, 118
  38. Maclagan, Michael (1999), Line of Succession: Heraldry of the Royal Families of Europe, London: Little, Brown & Co, p. 27, ISBN 0-85605-469-1 Check |isbn= value: checksum (help) Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  39. ครอฟต์, 24; สจวต, 119
  40. วิลเลียมส์, 30; แมคมานัส, 70,
  41. วิลล์สัน, 93; วิลเลียมส์, 29
  42. วิลเลียมส์, 31
  43. สจวต, 119; วิลเลียมส์, 31; แมคมานัส, 71
  44. วิลล์สัน, 85-95, 94-95
  45. ครอฟต์ 24
  46. ครอฟต์, 134
  47. ข่าวลือที่ว่าแอนน์ทรงครรภ์เกิดขึ้นตั้งแต่ก่อนหน้าที่แอนน์จะเสด็จมาถึงสกอตแลนด์. สจวต, 139
  48. สจวต, 139–40
  49. สจวต, 140; พระนามตั้งตามชื่อพระอัยกาสองพระองค์ เฮนรี สจวต ลอร์ดดาร์นลีย์ และ พระเจ้าเฟรเดอริคที่ 2 แห่งเดนมาร์ก. วิลเลียมส์, 47
  50. วิลเลียมส์, 47
  51. “ (แอนน์) ไม่เคยทรงบรรเทาจากความพิโรธและความรันทดที่เกิดจากการที่ถูกแยกจากพระราชโอรสองค์แรก” ครอฟต์ 24; “...ความขัดแย้งกับพระสวามีจากความขมขื่น (ที่ทรงถูกพรากจากพระโอรส) เป็นสิ่งที่ทำลายชีวิตการสมรสของพระองค์” วิลเลียมส์, 52; เอิร์ลแห่งมาร์เป็นตำแหน่งของผู้มีสิทธิในการดูแลอารักขารัชทายาทของสกอตแลนด์ตามประเพณี. สจวต, 140; วิลเลียมส์, 53
  52. สจวต, 140–141; วิลเลียมส์สันนิษฐานว่าเมทแลนด์เป็นนกสองหัวแต่ก็มีความรู้สึกเดียวกันในความเป็นคู่อริกับเอิร์ลแห่งมาร์ และถวายคำแนะนำอย่างลับๆ ต่อพระเจ้าเจมส์ว่าไม่ให้ทรงยอมพระชายา. วิลเลียมส์, 53–57
  53. สจวต, 141; “ในกรณีที่เป็นพระประสงค์ของพระเจ้าในตัวข้าพเจ้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ห้ามมิให้มอบตัวเจ้าชายเฮนรีแก่พระราชินี จงเลี้ยงพระองค์จนพระชนมายุ 18 พรรษาเมื่อทรงมีโองการด้วยพระองค์เองได้” วิลเลียมส์, 55
  54. วิลเลียมส์, 54
  55. สายลับคนหนึ่งของโรเบิร์ต เซซิล เอิร์ลแห่งซอลท์บรีที่ 1 รายงานว่าได้ยินเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1595 ว่าแอนน์ทรงร้องขอพระเจ้าเจมส์ให้ทรงมีสิทธิในการดูแลเจ้าชายเฮนรี ในฐานะที่พระองค์เป็นพระมารดา และพระเจ้าเจมส์มิควรจะให้ผู้ไม่มีศักดิ์ศรีสมฐานะมาดูแลพระราชโอรสของพระองค์ พระเจ้าเจมส์ทรงตอบโต้ว่าไม่ทรงมีความข้องใจในความตั้งใจของพระชายา แต่ถ้าฝ่ายตรงข้ามของพระองค์เกิดมีอำนาจขึ้นมาพระชายาก็จะไม่มีความแข็งแรงพอที่จะป้องกันไม่ให้ฝ่ายตรงข้ามใช้เจ้าชายเฮนรีเป็นปฏิปักษ์ต่อพระองค์ได้ เช่นเมื่อพระองค์เองถูกใช้เป็นเครื่องมือของฝ่ายตรงข้ามกับพระราชมารดาผู้น่าสงสารของพระองค์เอง. วิลเลียมส์, 54
  56. วิลเลียมส์, 56
  57. สจวต, 141
  58. สจวต, 141
  59. พระเจ้าเจมส์ทรงล่ำลาแอนน์ด้วยความรักก่อนที่จะออกเดินทาง. วิลล์สัน, 160; วิลเลียมส์, 70-71
  60. สจวต, 169–72
  61. สจวต, 169; วิลเลียมส์, 70; ผู้สังเกตการณ์ชาวต่างประเทศในลอนดอนกระจายข่าวลือเกี่ยวกับการแท้งของแอนน์ เอกอัครราชทูตเวนิสรายงานว่าแอนน์ทุบตีพระอุทรของตนเองเพื่อให้แท้ง แม็กซิมีเลียน เดอ เบทูน ดยุกแห่งซุลลีจากฝรั่งเศสกล่าวว่าแอนน์ทรงแกล้งแท้งเพื่อผลทางการเมือง. วิลเลียมส์, 71; สจวต, 169; แมคมานัส, 91
  62. ในพระราชสาส์นตอบของพระเจ้าเจมส์กล่าวว่าแอนน์ทรงกล่าวหาพระองค์ว่าไม่รักพระองค์จริง; แต่งงานกับพระองค์เพียงเพราะทรงมีกำเนิดมาในราชตระกูล และทรงฟังข่าวเล่าลือว่าจะทรงเปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิก ในพระราชสาส์นพระเจ้าเจมส์ทรงกล่าวว่า: “...หม่อมฉันยังคงรักและมีความนับถือในตัวพระองค์อยู่ตามกฎของพระเจ้าและของธรรมชาติในสิ่งที่สามีควรจะทำต่อภรรยาและมารดาของลูกของหม่อมฉัน และไม่ใช่ทำเพราะพระองค์เป็นพระราชธิดาของพระเจ้าแผ่นดิน เพราะไม่ว่าพระองค์จะเป็นผู้ใด -- พระราชธิดาของพระเจ้าแผ่นดินหรือลูกสาวของคนครัว -- พระองค์ก็คือสิ่งเดียวของหม่อมฉันนั่นก็คือเป็นภรรยาของหม่อมฉัน” และทรงสาบานว่าไม่เคยได้ยินข่าวลือจากผู้ใดในเรื่องที่แอนน์จะทรงเปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิก. สจวต, 170
  63. ครอฟต์ 55; วิลล์สัน, 160; วิลเลียมส์, 71; ทั้งบาร์โรลล์, 30, และ แมคมานัส, 81, ตั้งข้อสังเกตว่าการกระทำของแอนน์เป็นทั้งการกระทำทางการเมืองและสัญชาตญาณของความเป็นแม่; การแลกเปลี่ยนการดูแลทำกันอย่างเป็นทางการ โดยสภาผู้ดูแลพบปะกันที่สเตอร์ลิงและห้ามขุนนางของแอนน์เข้ามาในรัศมี 16 กิโลเมตรของเจ้าชายเฮนรี เอิร์ลแห่งมาร์มอบตัวเจ้าชายเฮนรีให้แก่ลุดโดวิค สจวต ดยุกแห่งเล็นนิกซ์ที่ 2 ผู้เป็นผู้แทนของพระเจ้าเจมส์ผู้มอบเจ้าชายเฮนรีให้แก่สภาผู้ดูแล และในที่สุดสภาผู้ดูแลมอบเจ้าชายเฮนรีให้แก่แอนน์และเล็นนิกซ์ ผู้ที่เป็นผู้นำทั้งสองพระองค์ลงมายังลอนดอนด้วยกัน. สจวต, 170–1
  64. เจ้าหญิงเอลิซาเบธเสด็จตามมาสองวันต่อมาและติดตามมาทัน แต่เจ้าชายชาร์ลส์ยังทรงถูกทิ้งไว้ในสกอตแลนด์เพราะไม่ทรงแข็งแรงพอที่จะเดินทาง. สจวต, 171; แอนน์ทรงเก็บร่างของพระทารกที่ทรงแท้งไว้กับพระองค์. แมคมานัส, 91
  65. วิลล์สัน, 164–5; เลดี้แอนน์ คลิฟฟอร์ดอายุสิบสามปีเมื่อเขียนบันทึก. วิลเลียมส์, 79
  66. วิลเลียมส์, 61–3; บาร์โรลล์, 25
  67. พระราชินีแอนน์ทรงให้กำเนิดพระโอรสองค์ที่สอง, ชาร์ลส์เมื่อค่ำวันที่ 19 พฤศจิกายน ค.ศ. 1600 ขณะที่พี่น้องรูธเว็นถูกลงโทษโดยการ “แขวนคอ, ควักไส้และผ่าสี่” (Hanged, drawn and quartered). วิลเลียมส์, 66; บาร์โรลล์, 26
  68. เจมส์ เมลวิลล์ผู้เห็นเหตุการณ์บันทึกในอนุทินว่า: “ในบรรดาผู้ที่ไม่เชื่อว่าพี่น้องรูธเว็นมีความผิดจริงก็คือพระราชินีเอง พระองค์ไม่ทรงยอมลุกจากพระแท่นไม่ยอมเปลี่ยนเครื่องทรงไปสองวัน...แม้ว่าพระเจ้าเจมส์จะทรงทราบถึงการประชดของพระชายาและผลที่จะตามมา พระองค์ก็ไม่ทรงยอมที่จะแก้ไขเหตุการณ์ให้ถูกต้องแต่แทนที่ทรงพยายามกลบเกลื่อนสิ่งที่เกิดขึ้น” วิลเลียมส์, 63
  69. วิลเลียมส์, 63–4
  70. บาร์โรลล์ตั้งข้อสังเกตใน “ความมุ่งมั่นทางการเมือง” ของแอนน์. บาร์โรลล์, 23. แต่แอนน์ทรงสัญญาอยู่เสมอว่าจะไม่ทรงทำสิ่งใดที่เป็นปฏิปักษ์ต่อพระเจ้าเจมส์. บาร์โรลล์, 28
  71. บาร์โรล, 27; วิลเลียมส์, 64–65
  72. “แม้ว่าครอบครัวของเธอจะเป็นที่น่าชิงชังเพราะพยายามทำร้ายพระเจ้าแผ่นดิน แต่เธอเองไม่ได้แสดงว่ามีส่วนร่วมในการกระทำครั้งนั้น” วิลเลียมส์, 65
  73. วิลเลียมส์, 164–5
  74. วิลเลียมส์, 76
  75. ครอฟต์ 56
  76. สจวต, 181
  77. สจวต, 182
  78. วิลล์สัน, 403
  79. 1 2 3 วิลเลียมส์, 112
  80. เดิมแอนน์ไม่ทรงเห็นด้วยกับการจับคู่ระหว่างพระธิดากับพระเจ้าเฟรเดอริค เพราะทรงเห็นว่าเฟรเดอริคมีฐานะที่ต่ำกว่าและไม่ทรงยอมเข้าร่วมพิธีเสกสมรสที่ห้องรับรองในพระราชวังไวท์ฮอลล์ โดยทรงแก้พระองค์ว่าไม่ทรงสบายจากข้อเท้าบวม. สจวต, 247, 250; วิลเลียมส์, 154–156
  81. ครอฟต์ 89
  82. บาร์โรล, 134; นักเขียนจดหมายจอห์น เชมเบอร์เลนตั้งข้อสังเกตว่าการที่ไม่ทรงเข้าร่วมพิธีการแต่งตั้ง ชาร์ลส์ เป็นเจ้าชายแห่งเวลส์ ในสี่ปีต่อมา ก็คงเป็นเพราะการเข้าร่วมเป็นการเตือนให้คิดถึงเจ้าชายเฮนรี สจวต, 249
  83. ครอฟต์ 89; การประชวรของแอนน์รวมทั้งโรคเกาต์, บวมน้ำ (dropsy), โรคปวดข้อ (arthritis) และพระบาทบวม วิลเลียมส์, 159
  84. ครอฟต์ 89
  85. ครอฟต์, 89
  86. บาร์โรล, 148; จอร์จ แอ็บบ็อต อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอร์เบอรีและผู้อื่นสร้างความกดดันให้แอนน์สนับสนุนจอร์จ วิลเลิร์สให้เป็นขุนนางประจำห้องพระบรรทม เมื่อเริ่มแรกแอนน์ก็ทรงปฏิเสธและตามคำของแอ็บบ็อตทรงกล่าวว่า, “ถ้า จอร์จ วิลเลียรส์กลายเป็นคนโปรด, ผู้ที่จะได้รับผลทางร้ายคนแรกก็เห็นจะเป็นคนที่ทำให้ได้ตำแหน่งนั่นเอง ฉันเองก็จะไม่ได้รับการยกเว้นเช่นผู้อื่น” แต่จะอย่างไรก็ตามศัตรูของคารร์ก็หว่านล้อมให้แอนน์สนับสนุนจอร์จ วิลเลิร์ส. วิลเลียมส์, 170; วิลล์สัน, 352; สจวต, 268–9
  87. วิลเลียมส์แสดงสำเนาของจดหมายจากแอนน์ถึงจอร์จ วิลเลิร์สที่เริ่มด้วย: “My kind dog, I have receaved your letter which is verie wellcom to me yow doe verie well in lugging the sowes eare. [สะกดผิด]” วิลเลียมส์, 152. จอร์จ วิลเลียรส์เขียนตอบมาว่าได้ดึงพระกรรณของพระเจ้าเจมส์จนกระทั่งยาวเท่ากับหูหมู. วิลเลียมส์, 172
  88. ครอฟต์ 100
  89. วิลล์สันมีความเห็นว่าการที่แอนน์ไม่ทรงยอมรับศีลมหาสนิทแบบอังกลิคันเป็นการที่แสดงพระองค์ว่าทรงยังเป็นโรมันคาทอลิก; แมคมานัสเสนอว่าอาจจะเป็นสัญญาณถึงความไม่ไว้วางใจของวัดปฏิรูปในการรับศีลมหาสนิทแบบอังกลิคัน วิลล์สัน, 221; แมคมานัส, 92–3
  90. นักประวัติศาสตร์มีความเห็นต่างกันในเรื่องการเปลี่ยนศาสนาของแอนน์เป็นโรมันคาทอลิกว่าทรงเปลี่ยนจริงหรือไม่ “ในระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1590 พระราชินีแอนน์ทรงเปลี่ยนไปเป็นโรมันคาทอลิก” วิลล์สัน, 95; “ระหว่างหลัง ค.ศ. 1600 แต่ก่อนเดือนมีนาคม ค.ศ. 1603 พระราชินีแอนน์ทรงได้รับการยอมรับเข้าสู่นิกายโรมันคาทอลิก ที่เป็นสักการะสถานลับๆ ในห้องหนึ่งภายในพระราชวังหลวง” Fraser, 15; “พระราชินี... [ทรงเปลี่ยน] จากการเป็นลูเธอรันอย่างลับๆ --ซึ่งก็ยังเป็นสิ่งที่น่าละอายทางการเมือง--ไปเป็นโรมันคาทอลิก ซึ่งทำให้เป็นที่ทำให้คณะมนตรีของวัดสกอตแลนด์ไม่พึงพอใจ” ครอฟต์ 24–5; “ทูตต่างประเทศของโรมันคาทอลิก—ผู้ที่เป็นที่แน่นอนว่าต้องมีความยินดีกับการเปลี่ยน—เชื่อว่าไม่ทรงมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยน ราชทูตนิโคโล โมลินจากเวนิสสรุปว่า “พระองค์ทรงเป็นลูเธอรันเต็มตัว” ในปี ค.ศ. 1606.” สจวต, 182; “ในปี ค.ศ. 1602 ก็มีรายงานข่าวอ้างว่าแอนน์...เปลี่ยนไปนับถือนิกายโรมันคาทอลิกหลายปีก่อนหน้านั้น พระเยซูอิดโรเบิร์ต อาเบอร์ครอมบีย์ผู้รายงานข่าวนี้รายงานว่าพระเจ้าเจมส์ทรงรับข่าวการเปลี่ยนของพระชายาอย่างเงียบและทรงเปรยว่าถ้าพระราชินีไม่ทรงสามารถอยู่ได้โดยไม่เป็นโรมันคาทอลิกพระองค์ก็ทรงตามพระทัย แต่ทรงขอให้ทำให้อย่างเงียบที่สุดเท่าที่จะทำได้ แอนน์ก็เก็บความลับนี้ไว้ตลอดพระชนม์ชีพ—แม้ว่าหลังจากการสิ้นพระชนม์ไปแล้ว—ก็ยังไม่เป็นที่ทราบกัน” ฮอกก์, 303–4
  91. บาร์โรล, 25; สจวต, 143
  92. เคาน์เทสแห่งฮันท์ลีย์ผู้เป็นผู้สนับสนุนเยซูอิดอย่างเหนียวแน่นเป็นบุตรีของ เอสเม สจวต ดยุกแห่งเล็นนิกซ์ที่ 1 (Esmé Stuart, 1st Duke of Lennox) พระสหายของพระเจ้าเจมส์เมื่อยังทรงพระเยาว์ ผู้ถูกขับออกจากประเทศในปี ค.ศ. 1582 และเป็นน้องสาวของลุโดวิค สจวต ดยุกแห่งเล็นนิกซ์ที่ 2 (Ludovic Stuart, 2nd Duke of Lennox). วิลเลียมส์, 45
  93. สจวต, 144; วิลเลียมส์, 59
  94. พระเจ้าเจมส์ทรงส่งสายประคำคืนกลับไปให้สมเด็จพระสันตะปาปา. วิลล์สัน, 221–222; สแตนเด็นสารภาพกับนักบวชเยซูอิดโรเบิร์ต พาร์สันว่าเป็นผู้ติดต่อในโรมในนามของพระราชินี. เฮนส์, 41. วิลล์สัน สรุปว่าเหตุการณ์ครั้งนี้เป็นการพิสูจน์ความเป็นโรมันคาทอลิกของแอนน์ หรือแนวโน้มในการเป็นโรมันคาทอลิกที่เพิ่มขึ้น”
  95. วิลล์สัน, 221–222
  96. วิลเลียมส์, 200
  97. วิลเลียมส์, 53
  98. วิลล์สัน, 156–7; โรเบิร์ต เซซิล เอิร์ลแห่งซอลสบรีที่ 1 (Robert Cecil, 1st Earl of Salisbury) เป็นอีกผู้หนึ่งที่มีบทบาทในการติดต่ออย่างลับๆ กับพระเจ้าเจมส์ผู้มีความเชื่อว่า “พระราชินีทรงเป็นผู้มีความอ่อนแอและทรงเป็นเครื่องมือของผู้ที่มีสติปัญญาและมีความประสงค์ร้าย” วิลเลียมส์, 93
  99. พระราชินีมีพระราชดำริกับองค์มนตรีโรเบิร์ต เซซิลว่าทรง “มีความพอใจกับภาพเขียนมากกว่าที่โรเบิร์ต เซซิลมีความพอใจต่อหน้าที่การงานอันยิ่งใหญ่ของตน” วิลเลียมส์, 93
  100. บาร์โรล, 35
  101. ครอฟต์ 25
  102. สจวต, 182
  103. ครอฟต์ 55
  104. วิลล์สัน, 95
  105. Strickland (1848), 276
  106. คำสรุปของครอฟต์ในบทนำในหนังสือ พระเจ้าเจมส์ (ค.ศ. 2003)
  107. “พระราชินีแอนน์ตามความคิดเห็นของนักประวัติศาสตร์ชายแล้วเป็นความคิดเห็นในทางที่ไม่ไคร่ดีนักในด้านความฟุ่มเฟือยและความหยุมหยิมของพระองค์ แต่การศึกษาเมื่อไม่นานมานี้ชี้ให้เห็นถึงอิทธิพลของพระองค์ ตราบใดที่ชีวิตการเสกสมรสของพระองค์จะยังคงมีความหมายอยู่ (แม้ว่าจะทรงมีความขัดแย้งกันอย่างเห็นได้ชัด) ” ครอฟต์ 55; “...อิทธิพลความเป็นแม่ทางการเมืองของพระราชินีแอนน์” แมคมานัส, 82
  108. ดู: บาร์โรล, แอนนาแห่งเดนมาร์ก, พระราชินีแห่งอังกฤษ: ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม, และ แคลร์ แมคมานัส, สตรีบนเวทีเรอเนสซองซ์: แอนนาแห่งเดนมาร์กและสตรีหลังหน้ากากในราชสำนักสจวต (ค.ศ. 1590ค.ศ. 1619)
  109. ครอฟต์ 25; ในปี ค.ศ. 1593, พระเจ้าเจมส์ทรงแต่งตั้งคณะกรรมการที่เรียกกันว่า “ออคเตเวียนส” (Octavians) เพื่อสะสางการบัญชีของพระราชินีแอนน์และเสนอวิธีการประหยัด. สจวต, 142–3
  110. บาร์โรล, 161; “ความสนพระทัยในด้านวัฒนธรรมของพระราชินีแอนน์และเจ้าชายเฮนรีนำมาสู่ความมีวัฒนธรรมในราชสำนักอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง” ครอฟต์ 129
  111. วิลเลียมส์, 99; เบอร์เบจที่กล่าวถึงนี้อาจจะเป็นคัธเบิร์ต เบอร์เบจ พี่ชายของนักแสดงริชาร์ด เบอร์เบจ. McCrea, 119; Ackroyd, 411
  112. ครอฟต์ 2–3, 56; “ความดึงดูดของสิ่งที่หรูหรามีราคาของการละครไม่มีหลักฐานชัดเจนจากเอกสารที่ยังหลงเหลืออยู่ ทำให้สันนิษฐานว่าความน่าดูมาจากการออกแบบเวทีและเครื่องแต่งตัว, ในเสป็ชเชียลเอฟเฟคส์, ในดนตรีและการเต้นรำ และในความใหม่ของการที่พระราชวงศ์ทรงทำการแสดงบนเวทีด้วยพระองค์เอง” สจวต, 183; “การแสดงนี้ (ไม่นับการซ้อม) ใช้เวลาเพียงวันเดียวในปีหนึ่งและมิได้แสดงทุกปีในรัชสมัยของพระองค์ ฉะนั้นการบรรยายพระราชินีจากงานสวมหน้ากากเหล่านี้จึงเป็นการบรรยายที่มาจากตัวอย่างที่เป็นส่วนน้อยมาก” บาร์โรล, 58
  113. บาร์โรล, 108–9
  114. แมคมานัส, 3; บาร์โรลล์ใช้รายชื่อของละครสวมหน้ากากระหว่าง ค.ศ. 1603 ถึง ค.ศ. 1610 ในการระบุว่าผู้ใดเป็นผู้อยู่ในแวดวงของพระราชินีแอนน์ บาร์โรล, 58
  115. วิลเลียมส์, 126; แมคมานัส, 2–3; หลังจากงานละครสวมหน้ากากของพระราชินีแอนน์ครั้งแรกในเรื่อง “The Vision of the Twelve Goddesses” โดย ซามูเอล แดเนียล คาร์ลตันมีความเห็นว่าเครื่องทรงในบทอธีนาของพระราชินีแอนน์สั้นเกินไปเพราะทำให้เห็นพระชงฆ์และพระบาท ในปี ค.ศ. 1605 พระราชินีแอนน์และสตรีสร้างเรื่องอื้อฉาวในราชสำนักโดยการปรากฏพระองค์เป็น “คนรักดำ” ใน “The Masque of Blackness” เซราซาโน, 80; แมคมานัส, 4; พระราชินีแอนน์ทรงครรภ์ได้หกเดือนเมื่อปรากฏในละครสวมหน้ากากเรื่องนี้. แมคมานัส, 11
  116. ครอฟต์ 56; “บทที่ทรงเล่นเป็นการทำให้เบ็น จอนสันได้รับความมีชื่อเสียงและอินิโก โจนส์ผู้ไม่เคยได้รับการมีชื่อเสียงอย่างที่ควร” วิลเลียมส์, 124. นักเขียนผู้อื่นที่พระราชินีแอนน์ทรงจ้างก็ได้แก่ซามูเอล แดเนียล, ทอมัส แคมเพียน และ จอห์น ดันน์ วิลเลียมส์, 157; สจวต, 183
  117. ครอฟต์ 3; ชั้นแรกอาจจะสร้างเสร็จเมื่อพระราชินีแอนน์สิ้นพระชนม์. วิลเลียมส์, 181
  118. เดาว์แลนด์ อุทิศ Lachrymae แก่ พระราชินีแอนน์. บาร์โรล, 58
  119. บาร์โรล, 58; สจวต, 182
  120. ครอฟต์ 56
  121. บาร์โรล, 58
  122. สจวต, 183; วิลเลียมส์, 106
  123. วิลเลียม ฮาร์วีย์ ผู้ค้นพบการหมุนเวียนของโลหิตเป็นลูกศิษย์ของเมเยิร์น. วิลเลียมส์, 194–198
  124. ครอฟต์ 100; วิลล์สัน, แต่พระเจ้าเจมส์เสด็จไปเยี่ยมพระราชินีแอนน์สองครั้งต่ออาทิตย์จนเมื่อทรงย้ายไปนิวมาร์เค็ตในเดือนกุมภาพันธ์ ทั้งพระเจ้าเจมส์โดยการส่งสาส์นและเจ้าชายชาร์ลส์ต่างก็ทรงกระตือรือร้นที่จะให้พระราชินีแอนน์ทรงทำพินัยกรรม (พระเจ้าเจมส์ไม่ทรงไว้ใจความสนพระทัยของเจ้าชายชาร์ลส์ในเรื่องนี้เพราะทรงกลัวว่าพระราชินีแอนน์จะยกทุกอย่างให้เจ้าชายชาร์ลส์) แต่พระราชินีแอนน์ไม่ทรงยอมร่วมมือ. วิลเลียมส์, 198–200
  125. สจวต, 300
  126. วิลเลียมส์, 201; สจวต, 121, 300
  127. วิลล์สัน, 403
  128. ครอฟต์ 101; พระเจ้าเจมส์ทรงล้มประชวรหนักหลังจากการสูญเสียเจ้าชายเฮนรี. วิลล์สัน, 285
  129. สจวต, 300; พระเจ้าเจมส์ทรงรับข่าวการสิ้นพระชนม์อย่าง “seemly”. วิลล์สัน, 403
  130. สจวต, 300
  131. การที่ทิ้งไว้นานเพราะขาดงบประมาณที่จะทำการทำพระศพเพราะขณะนั้นทางพระราชวงศ์มีหนี้สินมาก. วิลเลียมส์, 202
  132. Stewart, 140, 142.
  133. John Chamberlain (1553–1628) recorded: "It was verily thought that the disease was no other than the ordinary ague that had reigned and raged all over England". Alan Stewart writes that latter-day experts have suggested enteric fever, typhoid fever, or porphyria, but that at the time poison was the most popular explanation. Stewart, 248.
  134. Willson, 452; Barroll, 27.
  135. Croft, 55; Stewart, 142; Sophia was buried at King Henry's Chapel in a tiny alabaster tomb shaped like a cradle, designed by Maximilian Colt. Willson, 456; Williams, 112.