เชิงอรรถและอ้างอิง ของ ประชาธิปไตยสังคมนิยม

  1. "Social democracy", ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑ ฉบับ ๒๕๔๕, (รัฐศาสตร์) ประชาธิปไตยสังคมนิยม
  2. Heywood 2012, p. 128: "ประชาธิปไตยสังคมนิยมเป็นท่าทีทางอุดมการณ์ที่สนับสนุนดุลยภาพระหว่างทุนนิยมทางตลาดในด้านหนึ่ง กับการแทรกแซงของรัฐในอีกด้านหนึ่ง เพราะเป็นความอะลุ้มอล่วยกันระหว่างการตลาดและรัฐ ประชาธิปไตยสังคมนิยมจึงไร้ทฤษฎีที่เป็นมูลฐาน และจึงกล่าวได้ว่า คลุมเครือโดยธรรมชาติ แต่มันก็สัมพันธ์กับมุมมองดังต่อไปนี้ คือ (1) ทุนนิยมเป็นวิธีการสร้างความมั่งคั่งที่เชื่อถือได้อย่างเดียวเท่านั้น แต่นี่เป็นวิธีการแจกจ่ายความมั่งคั่งที่บกพร่องทางศีลธรรม เพราะความโน้มเอียงของมันไปทางความยากจนและความไม่เท่าเทียมกัน (2) ความบกพร่องของระบบทุนนิยมสามารถแก้ได้ผ่านการแทรกแซงทางเศรษฐกิจและสังคม โดยรัฐจะเป็นผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ของสาธารณชน[…]"
  3. Miller 1998, pp. 827"แนวคิดของประชาธิปไตยสังคมนิยม ปัจจุบันใช้กับสังคมที่เศรษฐกิจเป็นทุนนิยมโดยมาก แต่ที่รัฐควบคุมเศรษฐกิจเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ให้บริการเป็นสวัสดิการที่นอกเหนือทุนนิยม และพยายายามเปลี่ยนการแจกจ่ายรายได้และความมั่งคั่งเพื่อความยุติธรรมทางสังคม"
  4. Badie, Berg-Schlosser & Morlino 2011, p. 2423: "ประชาธิปไตยสังคมนิยมหมายถึงความโน้มเอียงทางการเมืองที่ตั้งอยู่บนพื้นฐาน 3 อย่าง คือ (1) ประชาธิปไตย (เช่น สิทธิเท่าเทียมกันในการลงคะแนนเสียงและการตั้งพรรค) (2) เศรษฐกิจที่รัฐควบคุมโดยส่วนหนึ่ง (เช่น ด้วยหลักเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์) และ (3) รัฐสวัสดิการที่ให้การสนับสนุนทางสังคมต่อบุคคลที่จำเป็น (เช่น สิทธิเท่าเทียมกันเพื่อการศึกษา บริการทางสุขภาพ การจ้างงาน และเบี้ยบำนาญ)"
  5. 1 2 Weisskopf 1992, p. 10
  6. Gombert et al. 2009, p. 8; Sejersted 2011.
  7. "Social democracy". Encyclopædia Britannica. สืบค้นเมื่อ 2015-08-10.
  8. Adams 1993, pp. 102-103: "การเกิดขึ้นของประชาธิปไตยสังคมนิยมส่วนหนึ่งเป็นผลของสงครามเย็น คือมีคนอ้างว่า ถ้าจักรวรรดิโซเวียตของสตาลินที่รัฐควบคุมทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นตัวแทนของระบบสังคมนิยม ระบบก็จะเป็นอะไรที่ไม่น่าได้ [...] นโยบายสมานฉันท์ที่มีผลเป็นเศรษฐกิจแบบผสมและเศรษฐกิจที่บริหารจัดการ ร่วมกับรัฐสวัสดิการ ซึ่งพัฒนาโดยรัฐบาลแรงงานหลังสงคราม ดูเหมือนจะให้รากฐานแก่ระบบสังคมนิยมที่ใช้งานได้ ซึ่งจะรวมความรุ่งเรืองและอิสรภาพ กับความยุติธรรมทางสังคมและโอกาสการมีชีวิตอันสมบูรณ์สำหรับทุกคน เป็นนโยบายที่มองได้ว่า เป็นความประนีประนอมกันระหว่างสังคมนิยมกับทุนนิยม"
  9. Miller 1998, pp. 827"ในระยะที่สองซึ่งโดยหลักเกิดหลังสงคราม นักประชาธิปไตยสังคมนิยมได้เชื่อว่า อุดมการณ์และค่านิยมของตนสามารถถึงได้ด้วยการปฏิรูประบบทุนนิยมแทนที่จะกำจัดมัน พวกเขาจึงนิยมเศรษฐกิจแบบผสมที่อุตสาหกรรมโดยมากจะเป็นทรัพย์สินส่วนบุคคล โดยมีสาธารณูปโภคและบริการที่จำเป็นและมีจำนวนน้อยอื่น ๆ ที่เป็นหน่วยงานของรัฐ"
  10. Jones 2001, p. 1410:"นอกจากนั้น โดยเฉพาะหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 บางครั้งมีการแยกแยะระหว่างนักประชาธิปไตยสังคมนิยมและนักสังคมนิยมโดยมีมูลฐานว่า พวกแรกได้ยอมรับความถาวรของเศรษฐกิจแบบผสม และได้ละทิ้งไอเดียที่จะแทนที่ระบบทุนนิยมด้วยสังคมแบบสังคมนิยมที่แตกต่าง"
  11. Heywood 2012, pp. 125-128:"โดยเป็นจุดยืนทางอุดมการณ์ ประชาธิปไตยสังคมนิยมได้เกิดเป็นรูปเป็นร่างขึ้นราว ๆ กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 โดยเป็นผลจากความโน้มเอียงของพรรคการเมืองสังคมนิยมประเทศตะวันตก ที่ไม่เพียงได้นำกลยุทธ์ผ่านรัฐสภามาใช้ แต่ยังแก้ไขเป้าหมายทางสังคมนิยมของตนอีกด้วย โดยเฉพาะก็คือ พวกเขาได้ละทิ้งเป้าหมายในการกำจัดทุนนิยมและหาวิธีปฏิรูปมัน หรือทำให้มันมีมนุษยธรรมมากขึ้น ดังนั้น ประชาธิปไตยสังคมนิยมจึงกลายเป็นจุดยืนเพื่อให้มีดุลยภาพระหว่างทุนนิยมทางตลาดในด้านหนึ่ง และการแทรกแซงของรัฐในอีกด้านหนึ่ง"
  12. Hoefer 2013, p. 29.
  13. Meyer & Hinchman 2007, p. 137.
  14. Meyer & Hinchman 2007, p. 91; Upchurch, Taylor & Mathers 2009, p. 51.
  15. Romano 2006, p. 11.

แหล่งที่มา

WikiPedia: ประชาธิปไตยสังคมนิยม http://www.misc-iecm.mcgill.ca/socdem/epaper.htm http://www.britannica.com/topic/social-democracy http://rrp.sagepub.com/content/24/3-4/1 http://www.sciam.com/article.cfm?chanID=sa006&arti... http://library.fes.de/pdf-files/iez/07077.pdf http://www.people.fas.harvard.edu/~ces/conferences... http://www.people.fas.harvard.edu/~ces/conferences... http://www.untag-smd.ac.id/files/Perpustakaan_Digi... http://www.policy-network.net/pno_detail.aspx?ID=4... http://pubs.aeaweb.org/doi/pdfplus/10.1257/jep.6.3...