เชิงอรรถ ของ สติ_(จิตวิทยา)

  1. "การใช้ระเบียบวิธีทางการวิจัยและการค้นพบทางวิทยาศาสตร์ที่ทำมาแล้วเป็นทศวรรษ ๆ ได้ไขเรื่องปรัมปราเหล่านี้ในปัจจุบัน มีการยอมรับกันอย่างกว้างขวางแล้วว่า สติเป็นสภาพธรรมชาติอย่างหนึ่งของใจมนุษย์ซึ่งก็คือ เป็นศักยภาพของการใส่ใจและความสำนึกที่หันหน้าเข้าไปสู่ขณะปัจจุบัน ในระดับที่ต่าง ๆ กันทั้งในบุคคลเดียวกันและในระหว่างบุคคลและสามารถที่จะประเมินได้โดยหลักฐานการทดลอง ที่เป็นอิสระต่อความเชื่อทางศาสนา ทางจิตวิญญาณ และทางวัฒนธรรม[10]
  2. คำว่า "Mindfulness meditation" อาจหมายถึงข้อปฏิบัติในการเจริญสติแบบตะวันตกที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา[2]หรืออาจจะหมายถึงการเจริญวิปัสสนาของชาวพุทธปัจจุบัน[12][13][14]
  3. วิปัสสนาตามที่สอนโดยอาจารย์ต่าง ๆ จากขบวนการที่เรียกว่า "การเคลื่อนไหวทางวิปัสสนา" (Vipassana movement) ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งมีแรงจูงใจจาก และเป็นปฏิกิริยาต่อ ขบวนการที่เรียกว่า "western modernism"[19][20]
  4. "ความสนใจในการประยุกต์ใช้การฝึกสติทางคลินิกมีประกายมาจากการตั้ง (โปรแกรม) Mindfulness-Based Stress Reduction (MBSR)ซึ่งเป็นโปรแกรมบำบัดที่ดั้งเดิมพัฒนาขึ้นเพื่อบริหารความเจ็บปวดเรื้อรัง" (Kabat-Zinn, 1982; Kabat-Zinn, Lipworth, & Burney, 1985; Kabat-Zinn, Lipworth, Burney, & Sellers, 1987)[16]:231
  5. "ตามประวัติเป็นข้อปฏิบัติของชาวพุทธ สติสามารถพิจารณาได้ว่าเป็นสมรรถภาพที่มีอยู่ทั่วไปในมนุษย์ ซึ่งอ้างว่าสามารถช่วยสร้างความคิดที่ชัดเจนและสร้างความเปิดใจดังนั้น กรรมฐานเช่นนี้ไม่จำเป็นต้องอาศัยความเชื่อทางศาสนาหรือทางวัฒนธรรม"[26]
  6. "คาแบต-ซินน์ (2000) เสนอว่า การฝึกสติอาจจะมีประโยชน์ต่อคนมากมายในสังคมคนตะวันตก ที่อาจจะไม่ยินดีรับประเพณีหรือศัพท์คำพูดของคนพุทธดังนั้น นักวิจัยและแพทย์รักษาชาวตะวันตกจึงได้นำการฝึกสติเข้ามาใช้ในโปรแกรมบำบัดสุขภาพจิต โดยสอนเทคนิคเหล่านี้โดยเป็นอิสระจากประเพณีทางศาสนาและทางวัฒนธรรมของแหล่งกำเนิด (Kabat-Zinn, 1982; Linehan, 1993b). - Mindfulness Training as a Clinical Intervention: A Conceptual and Empirical Review by Ruth A. Baer
  7. See also Eating One Raisin: A First Taste of Mindfulness for a hand-out file]
  8. See also Willoughby Britton (2014) for an interpretation of these findings.[73]
  9. ในงานปี ค.ศ. 2007[86] ดร. โรส์ชกล่าวถึง "ระบบการบำบัด 4 อย่างที่มีการฝึกสติเป็นองค์ประกอบรวมทั้ง Mindfulness Based Stress Reduction (MBSR; Kabat-Zinn, 1990),Mindfulness Based Cognitive Therapy (MBCT; Segal, Williams, & Teasdale, 2002; Teasdale & Barnard, 1993), Dialectical Behavior Therapy (DBT; Linehan, 1993a,b), และ Acceptance and Commitment Therapy (ACT; Hays, Strosahl, & Wilson, 1999). (ดูด้วย Baer, 2006; and Hayes, Jacobson, Follette, & Dougher, 1994.) ไม่มีคนไข้คนไหนที่ได้แต่คำสอนเกี่ยวกับสติเพียงอย่างเดียว(เช่น "ให้แต่ใส่ใจเท่านั้นกับสิ่งที่เข้ามาในใจ")แล้วให้ไปทำเอง เรื่องนี้มีเหตุผลที่ดีดิฉันไม่รู้ว่ามีกรณีของคนไข้ไหนเลยที่สามารถฝึกสติ หรือแม้แต่ฝึกสร้างความผ่อนคลาย โดยไม่ต้องอาศัยข้อแนะนำอื่น ๆ เป็นจำนวนมาก (p. 261)

แหล่งที่มา

WikiPedia: สติ_(จิตวิทยา) http://www.amazon.com/Essentials-Mahamudra-Looking... http://www.askdoctork.com/mindfulness-meditation-r... http://www.baojournal.com/IJBCT/IJBCT-9_1/A01.pdf http://christiansimplicity.com/christian-mindfulne... http://franticworld.com/what-can-mindfulness-do-fo... http://www.gestalttheory.com/concepts http://www.huffingtonpost.com/ira-israel/types-of-... http://www.ingentaconnect.com/content/imp/jcs/2007... http://www.irishtimes.com/newspaper/health/2011/06... http://www.mindfullivingprograms.com/whatMBSR.php