หมายเหตุ ของ สภาแห่งชาติลาว

  1. มาตรา 1 (ใหม่) กฎหมายว่าด้วยสภาแห่งชาติ
  2. มาตรา 52 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  3. มาตรา 4 รัฐธรรมนูญ
  4. มาตรา 5 รัฐธรรมนูญ
  5. หรือ “ข้าราชการ” ลาว
  6. แปลและเรียบเรียงเพิ่มเติมจาก ປະຫວັດຄວາມເປັນມາຂອງສະພາແຫ່ງຊາດລາວ, 28 กุมภาพันธ์ 2549.
  7. ประกอบด้วย สมาชิกหญิง 4 ท่าน และสมาชิกชาย 41 ท่าน
  8. ภาษาลาวใช้ “ปวงชนลาวบรรดาเผ่า”
  9. แผน 5 ปี ฉบับปี 1980 - 1985
  10. ประกอบด้วย สมาชิกหญิง 5 ท่าน สมาชิกชาย 74 ท่าน
  11. เป็นหน่วยงานผู้ปฏิบัติงานประจำด้านสำนักงาน เลขานุการ และธุรการของสภาประชาชนสูงสุด ได้รับการจัดตั้งอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรก มีฐานะเทียบเท่ากับคณะกรรมาธิการ
  12. ปัจจุบันได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างองค์กรใหม่เป็น ASEAN Inter - Parliamentary Assembly (AIPA) หรือสมัชชารัฐสภาอาเซียน
  13. ลาวใช้เขตของแขวงและนครหลวงเป็นเขตการเลือกตั้ง
  14. มาตรา 55 รัฐธรรมนูญ
  15. มาตรา 23 (ใหม่) กฎหมายว่าด้วยสภาแห่งชาติ
  16. มาตรา 56 รัฐธรรมนูญ
  17. มาตรา 16 (ใหม่) กฎหมายว่าด้วยสภาแห่งชาติ
  18. จำนวนพนักงานเท่าเดิมและกลุ่มเดิมแต่อาจมีการจัดหรือปรับตำแหน่งใหม่ ที่สำคัญที่สุด คือ มีการสรรหาคณะผู้บริหารชุดใหม่
  19. ส่วนหน่วยงานที่สนับสนุนการปฏิบัติงานของแต่ละคณะกรรมาธิการของไทยนั้นเป็นหน่วยงานระดับกลุ่มงาน
  20. แปลและเรียบเรียงเพิ่มเติมจาก ສະມາຊິກສະພາແຫ່ງຊາດລາວ, 28 กุมภาพันธ์ 2549.
  21. มาตรา 64 รัฐธรรมนูญ
  22. มาตรา 55 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  23. มาตรา 18 (ใหม่) กฎหมายว่าด้วยสภาแห่งชาติ
  24. มาตรา 19 (ใหม่) กฎหมายว่าด้วยสภาแห่งชาติ
  25. มาตรา 20 (ใหม่) กฎหมายว่าด้วยสภาแห่งชาติ
  26. มาตรา 7 (ใหม่) กฎหมายว่าด้วยสภาแห่งชาติ
  27. กองประชุมสมัยพิเศษนี้ไม่ปรากฏตามกฎหมายว่าด้วยสภาแห่งชาติ แต่ปรากฏในเอกสารเผยแพร่ของสภาแห่งชาติหัวข้อเกี่ยวกับการประชุมสภาแห่งชาติแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวพิจารณารายละเอียดได้ในກອງປະຊຸມສະພາແຫ່ງຊາດ, 28 กุมภาพันธ์ 2549.
  28. มาตรา 8 (ใหม่) กฎหมายว่าด้วยสภาแห่งชาติ
  29. ประธานศาลประชาชนสูงสุดและอัยการประชาชนสูงสุดมีวาระหรืออายุการตามวาระของสภาแห่งชาติแต่ละชุดด้วย
  30. มาตรา 57 รัฐธรรมนูญ
  31. มาตรา 58 รัฐธรรมนูญ
  32. หรือมีฐานะเป็นประกาศการบังคับใช้กฎหมายคล้าย “ราชกิจจานุเบกษา
  33. มาตรา 59 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  34. มาตรา 62 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  35. มาตรา 60 รัฐธรรมนูญ
  36. พิจารณาเปรียบเทียบตามระบบรัฐสภาของไทยได้ตาม สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ระบบงานรัฐสภา, (กรุงเทพฯ:ผู้เขียน, มปป.) , 46 - 53.
  37. มาตรา 61 รัฐธรรมนูญ
  38. พิจารณาเปรียบเทียบตามระบบรัฐสภาของไทยได้ตาม สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ระบบงานรัฐสภา, 81 - 5.
  39. มาตรา 63 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  40. พิจารณาเปรียบเทียบตามระบบรัฐสภาของไทยได้ตาม สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ระบบงานรัฐสภา, 86 - 9.
  41. มาตรา 74 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  42. พิจารณาจากพัฒนาการทางการเมืองการปกครองของลาวแล้วพบว่า ในระยะหลังผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมักเป็นสมาชิกกรมการเมืองของพรรคประชาชนปฏิวัติลาวในลำดับที่ต่ำกว่าตำแหน่งประธานสภาแห่งชาติ ซึ่งลำดับนี้มักสะท้อนถึงอำนาจ บทบาท และบารมีในทางการบริหารของพรรคและรัฐด้วย ทั้งนี้ ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี มักเป็นคนหนุ่มไฟแรง ความคิดดี และกล้าเปลี่ยนแปลงที่มักจะได้รับการส่งเสริมจากสมาชิกพรรคให้ขึ้นมาดำรงตำแหน่ง เนื่องจากต้องการใช้ประโยชน์จากทักษะและวิสัยทัศน์ทางการบริหารของบุคคลเหล่านั้น มากกว่าอายุ อำนาจ หรือบารมี ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการที่จะพัฒนาตนเองอย่างรวดเร็วของ สปป. ลาว
  43. มาตรา 71 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  44. มาตรา 72 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  45. มาตรา 74 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  46. มาตรา 75 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  47. มาตรา 89 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  48. มาตรา 81 (ใหม่) รัฐธรรมนูญ
  49. มาตรา 37 รัฐธรรมนูญ
  50. มาตรา 36 รัฐธรรมนูญ
  51. มาตรา 2 กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาแห่งชาติ
  52. มาตรา 7 กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาแห่งชาติ
  53. ต้องเข้าใจบริบททางการเมืองของลาวด้วยว่า ที่มีพรรคเดียวเนื่องจากเป็นการปกครองตามระบอบสังคมนิยม - คอมมิวนิสต์พรรคการเมือง คือ ศูนย์รวมกิจกรรมทางการเมืองทั้งหมดของรัฐ “อย่างรวมศูนย์และร่วมกัน” ความหลากหลายและกิจกรรมทางการเมืองเกิดขึ้นในระบบพรรค ส่วนกิจกรรมรัฐ (รัด-ถะ) เป็นการบริหารงานภาครัฐเท่านั้น
  54. ปกติองค์การจัดตั้งพรรคนี้จะจัดตั้งควบคู่กันกับองค์การจัดตั้งรัฐหรือองค์กรภาครัฐทุกองค์กร ดังนั้น ทุกภาคส่วนรัฐทุกองค์กรนับตั้งแต่บ้าน เมือง แขวง หรือกรม กระทรวง รัฐบาล สภาแห่งชาติ ก็จะมีองค์การจัดตั้งพรรคอยู่ควบคู่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันตลอด (องค์การจัดตั้งพรรคระดับแขวง กรม กระทรวง รัฐบาล สภาแห่งชาติ หรือองค์การเทียบเท่า มีสิทธิเสนอชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งในนามของตน องค์การจัดตั้งพรรคระดับต่ำกว่านั้นมีสิทธิเสนอชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งผ่านองค์การจัดตั้งพรรคซึ่งตนขึ้นตรง) นอกจากนี้ ยังมีองค์การจัดตั้งมหาชนขั้นศูนย์กลางที่สำคัญอื่นที่มีฐานะเทียบเท่ากระทรวง อาทิ ศูนย์กลางชาวหนุ่มลาว สหพันธ์กรรมบาลลาว ศูนย์กลางสหพันธ์แม่หญิงลาว
  55. การสมัครรับเลือกตั้งในลาวไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัครและค่าใช้จ่ายในการหาเสียง เนื่องจากการหาเสียงจะจัดให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและคณะกรรมการการเลือกตั้งจะเป็นผู้จัดเตรียมด้านการหาเสียงให้ผู้สมัครทุกคน อาทิ แผ่นพับ แผ่นป้าย การจัดเวทีปราศรัย การออกพบปะประชาชน การปราศรัยและแถลงนโยบายผ่านสื่อวิทยุโทรทัศน์ อย่างเท่าเทียมกัน
  56. ตามระบอบของลาวพรรคกับรัฐมีความควบคู่กัน “พรรค-รัฐ” มติของกรมการเมืองศูนย์กลางพรรคในด้าน “พรรค” จึงมีฐานะเทียบเท่ากับ “กฎหมาย” ในระบบของลาว หรือ “พระราชบัญญัติ” ในระบบของไทย
  57. จำนวนไม่แน่นอน แต่งตั้งตามความเหมาะสม การเลือกตั้งครั้งที่แล้วปี 2549 มีคณะกรรมการการเลือกตั้งจำนวน 17 ท่าน
  58. มาตรา 21 กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาแห่งชาต
  59. ต่างจากของไทยในระบบเดิมที่หน่วยงานซึ่งจัดการเลือกตั้งมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับกระทรวงมหาดไทยอย่างยิ่ง
  60. มาตรา 20 กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาแห่งชาต
  61. มาตรา 22 กฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาแห่งชาติ
  62. การแต่งตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งระดับแขวง กำแพงนคร และเขตพิเศษนั้น เป็นอำนาจของฝ่ายปกครอง คือ เจ้าแขวง เจ้าผู้ครองนคร และหัวหน้าเขตพิเศษนั้นตามลำดับ
  63. หน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง


    บทความเกี่ยวกับการเมือง การปกครองนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล

    ใกล้เคียง

    สภาแห่งชาติ (ประเทศลาว) สภาแห่งรัฐ (ฝรั่งเศส) สภาแห่งชาติเพื่อการคุ้มกันบ้านเกิดเมืองนอน สภาแห่งรัฐ (อังกฤษ) สภาแห่งรัฐ สภาแห่งชาติ (ออสเตรีย) สภาแห่งรัฐ (เนเธอร์แลนด์) สภาแห่งชาติเพื่อการฟื้นฟูติมอร์ สภาแห่งชาติแห่งสหภาพพม่า สภาแห่งชาติลิเบีย