การปรับปรุงทฤษฎี ของ สมมติฐานโลกยุติธรรม

งานศึกษาต่อมาในการวัดความเชื่อนี้ พุ่งความสนใจไปที่การกำหนดมิติต่าง ๆ ของความเชื่อซึ่งมีผลเป็นการพัฒนาวิธีวัดใหม่ ๆ และงานวิจัยที่ทำต่อ ๆ มา[2]มิติของความเชื่อนี้ สันนิษฐานว่ารวมทั้งความเชื่อว่าโลกไม่ยุติธรรม[29],ความเชื่อเรื่องความยุติธรรมโดยกฏสวรรค์ (immanent justice) ความยุติธรรมในที่สุด (ultimate justice)[30],ความหวังว่าโลกยุติธรรม และความเชื่อว่าตนสามารถลดระดับความไม่ยุติธรรม[31]งานวิจัยอื่น ๆ พุ่งความสนใจไปที่ขอบเขตต่าง ๆ ที่ความเชื่อนี้อาจจะมีผล คือ บุคคลอาจจะมีความเชื่อแบบต่าง ๆ กันในเรื่องส่วนตัว เรื่องการเมืองกับสังคม และเรื่องสังคมเป็นต้น[25]ขอบเขตกำหนดความต่างที่พบชัดเจนก็คือ ความเชื่อว่าโลกยุติธรรมระหว่างสิ่งที่เกิดกับตน กับสิ่งที่เกิดกับผู้อื่นความเชื่อต่าง ๆ เหล่านี้มีผลต่างสัมพันธ์กับสุขภาพ

ใกล้เคียง

สมมติฐานโลกยุติธรรม สมมติฐาน สมมติฐานของค็อค สมมติฐานประสิทธิภาพของตลาด สมมติฐานโลกของ RNA สมมติฐานความต่อเนื่อง สมมติสงฆ์ สมมติฐานเนบิวลา สมมติฐานทางสัญญาณสองทาง สมมติฐานเฉพาะกิจ

แหล่งที่มา

WikiPedia: สมมติฐานโลกยุติธรรม http://www.brocku.ca/psychology/people/Hafer_Begue... http://www.units.muohio.edu/psybersite/justworld/i... http://www.scu.edu/ethics/publications/iie/v3n2/ju... http://www.peplaulab.ucla.edu/Publications_files/R... http://www.peplaulab.ucla.edu/Publications_files/R... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/5969146 //doi.org/10.1037%2F0033-2909.131.1.128 //doi.org/10.1037%2Fh0023562 //doi.org/10.1111%2Fj.1540-4560.1973.tb00104.x //doi.org/10.1111%2Fj.1540-4560.1975.tb00997.x