หลักฐานดั้งเดิม ของ สมมติฐานโลกยุติธรรม

ในปี ค.ศ. 1966 ศ.เลอร์เนอร์กับผู้ร่วมงานเริ่มงานที่ใช้การทดลองแบบช็อก (shock paradigm) เพื่อตรวจสอบปฏิกิริยาของผู้สังเกตการณ์ต่อผู้รับเคราะห์ในงานแรกที่ทำที่มหาวิทยาลัยแคนซัส มีการให้ผู้ร่วมการทดลองหญิง 72 คนดู "ผู้ร่วมงาน" ถูกไฟช๊อตในสถานการณ์ต่าง ๆตอนแรกผู้ร่วมการทดลองไม่ชอบใจเห็นความทุกข์ทรมานที่ปรากฏแต่เมื่อดำเนินการต่อไปที่ผู้ร่วมการทดลองไม่สามารถทำอะไรได้ ผู้ร่วมการทดลองกลับเริ่มดูถูกผู้รับเคราะห์การดูถูกจะเพิ่มขึ้นถ้าเกิดความทุกข์ทรมานมากกว่าแต่ว่าถ้าบอกผู้ร่วมการทดลองว่า ผู้รับเคราะห์จะได้ค่าตอบแทนจากความทุกข์ทรมานที่ได้รับ ผู้ร่วมการทดลองจะไม่ดูถูกผู้รับเคราะห์[4]ศ.เลอร์เนอร์และผู้ร่วมงานสามารถทำซ้ำสิ่งที่พบนี้ได้ต่อ ๆ มา และนักวิจัยคนอื่น ๆ ก็เช่นกัน[6]

ใกล้เคียง

สมมติฐานโลกยุติธรรม สมมติฐาน สมมติฐานของค็อค สมมติฐานประสิทธิภาพของตลาด สมมติฐานโลกของ RNA สมมติฐานความต่อเนื่อง สมมติสงฆ์ สมมติฐานเนบิวลา สมมติฐานทางสัญญาณสองทาง สมมติฐานเฉพาะกิจ

แหล่งที่มา

WikiPedia: สมมติฐานโลกยุติธรรม http://www.brocku.ca/psychology/people/Hafer_Begue... http://www.units.muohio.edu/psybersite/justworld/i... http://www.scu.edu/ethics/publications/iie/v3n2/ju... http://www.peplaulab.ucla.edu/Publications_files/R... http://www.peplaulab.ucla.edu/Publications_files/R... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/5969146 //doi.org/10.1037%2F0033-2909.131.1.128 //doi.org/10.1037%2Fh0023562 //doi.org/10.1111%2Fj.1540-4560.1973.tb00104.x //doi.org/10.1111%2Fj.1540-4560.1975.tb00997.x