อ้างอิง ของ พระราชพงศาวดารกรุงเก่า_ฉบับหลวงประเสริฐ

  1. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. 211.
  2. 1 2 3 Wyatt (Cushman, 2006, p. xviii): "One of those versions is very short – the so-called Luang Prasœt version, which is thought to have been written by a court scribe or astrologer named Luang Horathibòdi around 1680."
  3. 1 2 3 Hodges (1999, p. 3): "The Luang Prasoet Chronicle (LPC), as it is now known, was written 226 years before, in 1681, by Siam's Chief Royal Astrologer (the Phra Horathibodi) at the behest of King Narai (r. 1656–1688)."
  4. 1 2 3 4 5 6 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. (16).
  5. 1 2 3 นาฏวิภา ชลิตานนท์, 2524, น. 223.
  6. 1 2 3 สุจิตต์ วงษ์เทศ, 2540, น. 29.
  7. 1 2 3 4 5 นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2521, น. 178.
  8. 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. 209.
  9. 1 2 3 ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา, 2503, น. 170–171.
  10. 1 2 3 4 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. 210: "พระราชพงษาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐ แม้ความที่กล่าวเปนอย่างย่อ ๆ มีเนื้อเรื่องที่ไม่ปรากฏในพระราชพงษาวดารฉบับอื่นออกไปอิกมาก แลที่สำคัญนั้น ศักราชในฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติแม่นยำ กระบวนศักราชเชื่อได้แน่กว่าพระราชพงษาวดารฉบับอื่น ๆ หนังสือพระราชพงษาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐ จึงเปนหลักแก่การสอบหนังสือพงษาวดารได้เรื่องหนึ่ง".
  11. 1 2 3 4 5 6 พิเศษ เจียจันทร์พงษ์, 2546, น. (8).
  12. 1 2 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. (17): "หนังสือพระราชพงษาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐ นี้ ทั้งเนื้อเรื่องแลศักราชผิดกับพระราชพงษาวดาร ฉบับพิมพ์ 2 เล่ม แลฉบับพระราชหัดถเลขา อยู่หลายแห่ง ข้าพเจ้าได้สอบสวนกับหนังสือพงษาวดารประเทศอื่น เห็นเนื้อความแลศักราชที่ลงไว้ในฉบับหลวงประเสริฐแม่นยำมาก ข้าพเจ้าเชื่อว่า ศักราชที่ลงไว้ในฉบับหลวงประเสริฐเปนถูกต้องตามจริง".
  13. 1 2 Hodges (1999, p. 33): "Its lack of narrative continuity, however, means that the LPC is of little practical value for a historian trying to develop a picture of the Thai past."
  14. 1 2 3 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. (17).
  15. ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา, 2503, น. 170.
  16. นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2521, น. 179.
  17. นาฎวิภา ชลิตานนท์, 2524, น. 222–223.
  18. 1 2 3 4 5 6 7 8 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. (18).
  19. 1 2 3 ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. 233.
  20. ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1, 2510, น. 93–103.
  21. 1 2 นาฎวิภา ชลิตานนท์, 2524, น. 224.
  22. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1, 2534, น. 17.
  23. พิเศษ เจียจันทร์พงษ์, 2549, น. (19).
  24. ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. 217.
  25. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1, 2534, น. 8.
  26. นาฎวิภา ชลิตานนท์, 2524, น. 230.
  27. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1, 2534, น. 210.
  28. สมเด็จพระพนรัตน์, 2558, น. 14.
  29. 1 2 ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา, 2515, น. 442.
  30. ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา, 2515, น. 441.
  31. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1, 2534, น. 229.
  32. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1, 2534, น. 235.
  33. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1, 2534, น. 236.
  34. นาฏวิภา ชลิตานนท์, 2524, น. 220: "พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาที่มีอยู่ปัจจุบันจึงไม่บริสุทธิ์แท้ คือ มักจะผ่านการชำระจากสมัยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะเป็นสมัยปลายอยุธยาเอง สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ความถูกต้องแม่นยำของพระราชพงศาวดารฉบับต่าง ๆ เหล่านี้จึงเป็นปัญหาอยู่เสมอ เนื่องเพราะความผิดพลาดต่าง ๆ อาจเกิดขึ้นได้โดยเจตนาและไม่เจตนา เช่น การคัดลอกตัวอักษรผิดพลาดหรือตกไป การใช้เอกสารซึ่งไม่มีน้ำหนักเพียงพอ หรือการได้ข้อมูลที่ผิดพลาด รวมทั้งการจงใจเพิ่มเติมเรื่องราวและรายละเอียดในบางตอน หรือตัดตอนเรื่องบางส่วน ด้วยจุดมุ่งหมายหรือผลประโยชน์ใด ๆ ก็ตามโดยเฉพาะ จากหลักฐานการชำระพระราชพงศาวดารสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้นทำให้เข้าใจได้ว่า เกิดจากความต้องการหรือคำสั่งของพระมหากษัตริย์ทั้งสิ้น ภายใต้เวลาและสภาพแวดล้อมทางวัฒนธรรมและการเมืองที่แตกต่างกัน ทรรศนะที่มีต่ออดีตย่อมแตกต่างไปด้วย และพงศาวดารอยุธยาได้บันทึกทัศนคติเหล่านี้ลงไว้ด้วยอย่างไม่เป็นทางการ การนำพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยามาใช้จึงต้องคำนึงถึง 'ความจริง' ซึ่งแทรกซ้อนอยู่ในอีกระดับหนึ่งด้วย"
  35. นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2521, น. 176: "ชนชั้นนำในยุคนั้นเพิ่งผ่านความตระหนกอย่างใหญ่หลวงมาจากความพินาศของอยุธยา 'เมืองอันไม่อาจต่อรบได้' จึงเป็นยุคสมัยที่คนชั้นนำหันกลับไปมองอดีตเพื่อสำรวจตนเอง มีการวิจารณ์ตนเองที่เราไม่ค่อยได้พบในวรรณคดีไทยบ่อยนัก เช่น กลอนเพลงยาวของกรมพระราชวังบวรฯ ในรัชกาลที่หนึ่ง วิเคราะห์สาเหตุของความล่มจมของอยุธยา ความใฝ่ฝันที่จะจำลองอุดมคติของอดีตกลับมาใหม่ใน นิราศนรินทร์ ฯลฯ เป็นต้น พระราชพงศาวดารที่ถูก 'ชำระ' ในยุคนี้จึงเต็มไปด้วยความใฝ่ฝัน ความรังเกียจ ความชัง ความรัก ความภูมิใจ ความอัปยศ และอคติของชนชั้นนำในยุคนี้อย่างมาก".
  36. นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2521, น. 181: "[ในฉบับจักรพรรดิพงศ์] กษัตริย์ในราชวงศ์นี้ [ราชวงศ์บ้านพลูหลวง] ซึ่งถูกพงศาวดารฉบับอื่นโจมตีอย่างมาก รอดพ้นการประณามมาได้อย่างงดงาม การรับคำท้าขี่ช้างไล่ม้าล่อแพนของพระเพทราชา (จพ: 170–171) ซึ่งพงศาวดารฉบับอื่นตัดออกไป เป็นการยกย่องความสามารถของพระเพทราชาอยู่ในตัว พระเพทราชาปฏิเสธที่จะเป็นกษัตริย์ในทันที่พระนารายณ์เสด็จสวรรคต...ข้อความนี้พระราชพงศาวดารฉบับอื่นก็ยกออกไปเสียเช่นกัน ทั้งยังไม่ได้ทรงทำพิธีราชาภิเษกทันทีเหมือนพระราชพงศาวดารฉบับอื่น...ข้อความอีกตอนหนึ่งซึ่งไม่พบในพระราชพงศาวดารฉบับอื่นเลย ก็คือ...มีพระบรมสารีริกธาตุเสด็จปาฏิหาริย์ผ่านหน้าเรือพระที่นั่ง อันเป็นข้อความที่พิสูจน์ถึงความมีบุญญาบารมีของพระเพทราชาในฐานะกษัตริย์...พระเพทราชาในฉบับจักรพรรดิพงศ์ทรงรับเอาเชื้อสายฝ่ายในของพระนารายณ์มารับราชการโดยไม่ต้องใช้เสน่ห์เวทมนตร์ดังเช่นพระราชพงศาวดารฉบับอื่น พระเจ้าเสือในฉบับนี้ก็ทรงแสดงความกล้าหาญ...ซึ่งไม่มีกล่าวในฉบับอื่นเลย".
  37. ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. (16)–(17).
  38. ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1, 2542, น. (12).
  39. Frankfurter, 1909.
  40. Cushman, 2006, pp. xviii–xx.
  41. ASEAN, 1999, pp. 576–607.
  42. ณัฐพล อยู่รุ่งเรืองศักดิ์, ตรงใจ หุตางกูร, วินัย พงศ์ศรีเพียร, และเสมอ บุญมา, 2560, น. 16.
  43. Frankfurter, 1909, p. 5.
  44. ประเสริฐ ณ นคร, 2549, น. 203–207.
  45. Frankfurter, 1909, p. 13.
  46. Frankfurter, 1909, pp. 12–13.
  47. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1, 2534, น. 225.
  48. Frankfurter, 1909, p. 25.
  49. พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 1, 2534, น. 334.
  50. Dressler, 2013, p. 227: "When the Siam Society published a synoptic translation of all major chronicles of Ayutthaya in the year 2000 there was no doubt that this hefty volume, despite the numerous and odd mistranslations contained therein, was to become a classic book of reference for everyone interested in traditional Southeast Asian historiography."
  51. Terwiel, 2001, p. 221: "In general, Cushman appears to have been an inspired translator. Only occasionally his choice of words will raise a few eyebrows. His attempt to transmit the Thai royal language by the frequent adding of the word holy, is not always effective (note a sentence like: "His Majesty came down with a holy illness"). When the expression müang farangset is transmitted to us as the "Municipality of Farangset" (p. 269 ff.), this leaves the impression that the Thais did not understand the size and might of France, whilst actually the court of Ayutthaya was better informed on matters concerning Europe than all other Southeast Asian courts."

ใกล้เคียง

พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 พระราชวัชรธรรมโสภณ (ศิลา สิริจนฺโท) พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชสันตติวงศ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ พระราชวังต้องห้าม พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พุทธศักราช 2562 พระราชวังบวรสถานมงคล พระราชวังดุสิต พระราชวังสนามจันทร์