ภาพรวม ของ ตารางธาตุ

หมู่123456789101112131415161718
โลหะแอลคาไลโลหะแอลคาไลน์เอิร์ทนิกโท­เจนแชล­โค­เจนแฮโล­เจนแก๊สมีตระกูล
คาบ

1

ไฮโดร­เจน
1
ฮี­เลียม
2
2
ลิ­เทียม
3
เบริล­เลียม
4
โบรอน
5
คาร์บอน
6
ไนโตร­เจน
7
ออกซิ­เจน
8
ฟลูออ­รีน
9
นีออน
10
3
โซ­เดียม
11
แมกนี­เซียม
12
อะลูมิ­เนียม
13
ซิลิ­กอน
14
ฟอส­ฟอรัส
15
กำมะถัน
16
คลอ­รีน
17
อาร์กอน
18
4
โพแทส­เซียม
19
แคล­เซียม
20
สแกน­เดียม
21
ไทเท­เนียม
22
วาเน­เดียม
23
โคร­เมียม
24
แมงกา­นีส
25
เหล็ก
26
โคบอลต์
27
นิกเกิล
28
ทองแดง
29
สังกะสี
30
แกลเลียม
31
เจอร์เม­เนียม
32
สารหนู
33
ซีลี­เนียม
34
โบรมีน
35
คริป­ทอน
36
5
รูบิ­เดียม
37
สตรอน­เซียม
38
อิตเทรียม
39
เซอร์โค­เนียม
40
ไนโอ­เบียม
41
โมลิบ­ดีนัม
42
เทค­นีเชียม
43
รูที­เนียม
44
โร­เดียม
45
แพลเล­เดียม
46
เงิน
47
แคด­เมียม
48
อินเดียม
49
ดีบุก
50
พลวง
51
เทลลู­เรียม
52
ไอโอดีน
53
ซีนอน
54
6
ซี­เซียม
55
แบเรียม
56
ลูที­เชียม
71
แฮฟ­เนียม
72
แทนทา­ลัม
73
ทัง­สเตน
74
รี­เนียม
75
ออส­เมียม
76
อิริเดียม
77
แพลต­ทินัม
78
ทองคำ
79
ปรอท
80
แทลเลียม
81
ตะกั่ว
82
บิส­มัท
83
พอโล­เนียม
84
แอสทา­ทีน
85
เรดอน
86
7
แฟรน­เซียม
87
เร­เดียม
88
ลอว์เรน­เชียม
103
รัทเทอร์­ฟอร์เดียม
104
ดุบ­เนียม
105
ซี­บอร์เกียม
106
โบห์­เรียม
107
ฮัส­เซียม
108
ไมต์­เนเรียม
109
ดาร์ม­สตัดเทียม
110
เรินต์­เกเนียม
111
โคเปอร์­นิเซียม
112
นิโฮ­เนียม
113
ฟลีโร­เวียม
114
มอสโก­เวียม
115
ลิเวอร์­มอเรียม
116
เทนเนส­ซีน
117
โอกา­เนสซอน
118
แลน­ทานัม
57
ซีเรียม
58
เพรซิโอ­ดีเมียม
59
นีโอ­ดีเมียม
60
โพรมี­เทียม
61
ซาแม­เรียม
62
ยูโร­เพียม
63
แกโดลิ­เนียม
64
เทอร์­เบียม
65
ดิสโพร­เซียม
66
โฮล­เมียม
67
เออร์เบียม
68
ทูเลียม
69
อิตเทอร์­เบียม
70
 
แอกทิ­เนียม
89
ทอ­เรียม
90
โพรแทก­ทิเนียม
91
ยูเร­เนียม
92
เนปทู­เนียม
93
พลูโท­เนียม
94
อะเมริ­เซียม
95
คูเรียม
96
เบอร์คี­เลียม
97
แคลิฟอร์­เนียม
98
ไอน์สไต­เนียม
99
เฟอร์­เมียม
100
เมนเด­ลีเวียม
101
โนเบ­เลียม
102
 

สีดำ = ของแข็งสีเขียว = ของเหลวสีแดง = แก๊สสีเทา = ไม่ทราบสถานะสีของเลขอะตอม แสดงถึงสถานะของสสาร (ที่ 0 °C และ 1 atm)
ดึกดำบรรพ์การสลายตัวการสังเคราะห์กรอบ แสดงการปรากฏในธรรมชาติ
สีพื้นหลัง แสดงถึงหมู่ของธาตุที่เกิดจากความเป็นโลหะ:
โลหะกึ่งโลหะอโลหะไม่มีกลุ่ม
ตามสมบัติ
ทางเคมี
โลหะแอลคาไลโลหะแอลคาไลน์เอิร์ทแลน­ทาไนด์แอกทิไนด์โลหะแทรนซิชันโลหะ​หลังทรานซิชันอโลหะหลายวาเลนซ์อโลหะวาเลนซ์เดียวแก๊สมีตระกูล

ตารางธาตุทุกรูปแบบจะประกอบไปด้วยธาตุเคมีเท่านั้น ไม่มีสารผสม สารประกอบ หรืออนุภาคมูลฐาน[n 2] อยู่ในตารางธาตุด้วย ธาตุเคมีแต่ละตัวจะประกอบไปด้วยเลขอะตอม ซึ่งจะบ่งบอกจำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของธาตุนั้น ๆ ธาตุส่วนใหญ่จะมีจำนวนนิวตรอนแตกต่างกัน ท่ามกลางอะตอมที่แตกต่างกัน ซึ่งจะอยู่ในรูปของไอโซโทป เช่น คาร์บอน มีไอโซโทปที่ปรากฏในธรรมชาติ 3 ไอโซโทป โดยไอโซโทปของคาร์บอนส่วนใหญ่ที่ปรากฏในธรรมชาติจะประกอบไปด้วยโปรตอน 6 ตัวและนิวตรอน 6 ตัว แต่มีเพียง 1 เปอร์เซ็นต์ที่จะมีนิวตรอน 7 ตัว และมีโอกาสนิดเดียวที่จะพบคาร์บอนที่มีนิวตรอน 8 ตัว ไอโซโทปแต่ละไอโซโทปจะไม่ถูกแยกออกจากกันในตารางธาตุ พวกมันถูกจัดให้เป็นธาตุเดียวกันไปเลย ธาตุที่ไม่มีไอโซโทปที่เสถียรจะสามารถหามวลอะตอมได้จากไอโซโทปที่เสถียรที่สุดของมัน โดยมวลอะตอมที่เสถียรที่สุดดังกล่าวจะแสดงในวงเล็บ[4]

ในตารางธาตุมาตรฐาน ธาตุจะถูกเรียงตามเลขอะตอม (จำนวนโปรตอนในนิวเคลียสของอะตอม) ที่เพิ่มขึ้น คาบใหม่จะมีได้ก็ต่อเมื่อวงอิเล็กตรอนใหม่มีอิเล็กตรอนอยู่ในวงอย่างน้อยหนึ่งตัว หมู่จะกำหนดตามการจัดเรียงอิเล็กตรอนของอะตอม ธาตุที่มีจำนวนอิเล็กตรอนเดียวกันในวงอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดจะถูกจัดให้อยู่ในหมู่เดียวกัน (เช่น ออกซิเจน กับซีลีเนียม อยู่ในหมู่เดียวกันเพราะว่าพวกมันมีอิเล็กตรอน 4 ตัวในวงอิเล็กตรอนชั้นนอกสุดเหมือนกัน) โดยทั่วไป ธาตุที่สมบัติทางเคมีคล้ายกันจะถูกจัดในหมู่เดียวกัน ถึงแม้จะเป็นในบล็อก-f ก็ตาม และธาตุบางตัวในบล็อก-d มีธาตุที่มีสมบัติเหมือนกันในคาบเดียวกันเช่นกัน ดังนั้นจึงเป็นเรื่องง่ายที่จะทำนายสมบัติทางเคมีของธาตุเหล่านั้น ถ้ารู้ว่าธาตุรอบ ๆ นั้นมีคุณสมบัติอย่างไร[5]

จนถึง พ.ศ. 2559 ตารางธาตุมีธาตุที่ได้รับการยืนยันแล้ว 118 ตัว ตั้งแต่ธาตุที่ 1 (ไฮโดรเจน) ถึงธาตุที่ 118 (ออกาเนสซอน)[6]

ธาตุทั้งหมด 98 พบได้ในธรรมชาติ อีก 16 ธาตุที่เหลือ นับตั้งแต่ ธาตุที่ 99 (ไอน์สไตเนียม) จนถึงธาตุที่ 118 (ออกาเนสซอน) ถูกสังเคราะห์ขึ้นในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์เท่านั้น ในบรรดาธาตุ 98 ตัวที่พบในธรรมชาตินี้ มีธาตุ 84 ตัวที่เป็นธาตุดึกดำบรรพ์ และที่เหลืออีก 14 ธาตุปรากฏในโซ่ของการสลายตัวของธาตุดึกดำบรรพ์เหล่านั้น[3] ยังไม่มีใครพบธาตุที่หนักกว่าไอน์สไตเนียม (ธาตุที่ 99) ในรูปธาตุบริสุทธิ์ ในปริมาณที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเลย[7]

การแบ่งตารางธาตุ

การจัดวางตารางธาตุ
ตารางธาตุโดยบล็อก-f แยกออกจากตารางธาตุหลักตารางธาตุโดยบล็อก-f รวมกับตารางธาตุหลัก
แลนทาไนด์และแอกทิไนด์แยกออกจากตารางธาตุหลัก (ซ้ายมือ) และอยู่ในตารางธาตุหลัก (ขวามือ)

ในการนำเสนอตารางธาตุผ่านทางกราฟิกนั้น ตารางธาตุหลักจะมี 18 หมู่ และมีหมู่แลนทาไนด์และแอกทิไนด์แยกออกมาอยู่ด้านล่างของตารางธาตุหลัก[8] ซึ่งจะเป็นช่องว่างในตารางธาตุระหว่างแบเรียม กับแฮฟเนียม และระหว่างเรเดียม กับรัทเทอร์ฟอร์เดียม ตามลำดับ โดยธาตุเหล่านี้จะมีเลขอะตอมระหว่าง "51 – 71" และตารางธาตุอีกลักษณะหนึ่ง คือตารางธาตุ 32 หมู่ ซึ่งจะนำหมู่แลนทาไนด์และแอกทิไนด์เข้ามาอยู่ในตารางธาตุหลักด้วย โดยจะอยู่ในคาบที่ 6 กับคาบที่ 7

ถึงอย่างนั้น มีการสร้างตารางธาตุรูปแบบอื่น ๆ ขึ้นมา โดยยึดพื้นฐานของสมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมีของธาตุด้วย

ใกล้เคียง

ตารางธาตุ ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมใหญ่ ตารางธาตุ (ขยาย) ตารางธาตุ (มาตรฐาน) ตารางธาตุ (โลหะ และ อโลหะ) ตารางธาตุพร้อมชื่อและน้ำหนักอะตอมเล็ก ตารางธาตุ (การจัดเรียงอิเล็กตรอน) ตารางธาตุแนวดิ่ง ตารางธาตุ (บล็อก)

แหล่งที่มา

WikiPedia: ตารางธาตุ http://cds.cern.ch/record/2008656/files/TKSato-Lr-... http://www.britannica.com/EBchecked/topic/603220/t... http://www.dayah.com/periodic/?lang=th http://ericscerri.com/Michelle-Nat%20Chem.pdf http://cultureofchemistry.fieldofscience.com/2009/... http://www.meta-synthesis.com/webbook//35_pt/pt_da... http://www.meta-synthesis.com/webbook/35_pt/pt_dat... http://www.meta-synthesis.com/webbook/35_pt/pt_dat... http://www.meta-synthesis.com/webbook/35_pt/pt_dat... http://www.meta-synthesis.com/webbook/35_pt/pt_dat...